ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค ๒ - หน้าที่ 54 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 54
หน้าที่ 54 / 404

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้กล่าวถึงการยอมรับพระคำสั่งของพระถาคตเจ้า ซึ่งมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของภิกษุ โดยชี้ให้เห็นถึงความสามารถในการนำพระสัจธรรมมาใช้เพื่อประโยชน์ของการอยู่ร่วมกันในสงฆ์ การเคารพและปฏิบัติตามสิกขาบทจะช่วยให้ภิกษุสามารถดำเนินชีวิตในความสงบและความสุข โดยมุ่งหวังที่จะทำให้เกิดสันติภาพในชุมชนพระสงฆ์และสร้างความสุขตลอดกาล ในขณะเดียวกัน บทอธิบายถึงการไม่ละอายในการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ รวมถึงความสำคัญของการมีศีลเป็นที่รัก ทั้งนี้ทั้งหมดดูเหมือนว่าส่งผลดีต่อความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างภิกษุ.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการยอมรับพระคำสั่ง
-การปฏิบัติศีลในสงฆ์
-ผลประโยชน์จากการอยู่ร่วมกัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค ๒ - หน้าที่ 54 ภิกขุใด ยอมรับพระคำสั่งของพระถาคตเจ้า การยอมรับพระคำสั่งนั้นของภิกษุนี้ ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขตลอดกาลนาน. เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงทำให้แจ้งซึ่งเนื้อความนี้ว่า "เราแสดงไทยในความไม่ยอมรับ และอนุสงค์ในความยอมรับแล้วจึงจบในบัญญัติ (สิกขาบท) เพื่อให้สงูอ่อนรับคำของเราว่า "ดีละ พระเจ้าข้า !" จักไม่มผงในบัญญัติ โดยกฎดังนี้. บทว่า สงฺยาผทฺสุยา คือ เพื่อความสุขแห่งสงฺส, อธิบายว่า "เพื่อประโยชน์แก่ความอยู่เป็นสุข ด้วยความเป็นอยู่ร่วมกัน. หลายบทว่า ทุมมุงดูน ปุกคลานิ นิคุคเหาย ความว่า บุคคล ผู้ถูกสึดชื่อว่าบุคคลผู้เก้อกก, ภิกษเหล่าใด แม้อื่นภิกษ์ทั้งหลายจะให้ ถึงความเป็นผู้เก็ย ย่อมถึงได้โดยง่าย, กำลังจะทำภสมิดหรือกระทำ แล้ว ย่อมไม่ละอาย. เพื่อประโยชน์แก่อนุโมทนามภิญญูเหล่านั้น. จริงอยู่ ภิกษุเหล่านั้น เมื่อสิกขาบทไม่มี จักเบียดเมียนสงส์ด้วย ถ้อยคำว่า "เรื่องอะไรที่พวกท่านเห็นมาแล้ว เรื่องอะไรที่พวกท่านได้ฟังมาแล้ว สงขอะไรที่พวกข้าพเจ้าทำแล้ว พวกท่านยกอัปไรไปใน เพราะวัตถุอะไรชิ้นขึนฆมพวกเจ้า." ก็เมื่อสิกขาบทมีอยู่ สงมั้ออกังกิฏบทแล้วปฏิบูพวกนั้น โดยธรรม โดยวินัย โดยสัทธาสนา เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า จิงสรว่า "เพื่อชมเหลาบุคคลผู้เก้อกก. หลายบทว่า ปลสาน ภิกุขุ่น ผลวิเศษารียา คือ เพื่อประโยชน์แก่ความอยู่สุขของภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก. จริงอยู่ ภิกษุทั้งหลายผู้มีศีลเป็นที่รัก ไม่รึสีงที่ควรทำและ ไม่ควรทำ สิ่งที่มีโทษและไม่มีโทษ จัดค้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More