ปฐมสมันตปาสาทกแปล ภาค ๒ - หน้า ที่ 129 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 129
หน้าที่ 129 / 404

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการบอกกล่าวในพระพุทธศาสนาที่ใช้คำไหวพจน์ซึ่งจำเป็นในการแสดงตัวตนของสมณะ โดยมีการอธิบายลักษณะและความสำคัญของการใช้คำดังกล่าวเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจดีขึ้นว่าคำแสดงความมีตัวตนเป็นอย่างไร และความหมายที่แฝงอยู่ภายในนั้นเป็นอย่างไร ทั้งยังมีการยกตัวอย่างคำที่ใช้ ในการบอกกล่าวต่างๆ รวมถึงบทบาทและหน้าที่ของผู้ที่ใช้คำเหล่านั้นอีกด้วย

หัวข้อประเด็น

-คำไหวพจน์
-สักกา
-พระพุทธศาสนา
-การบอกกล่าว
-บทบาทของสมณะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสมันตปาสาทกแปล ภาค ๒ - หน้า ที่ 129 เป็นการบอกกล่าวด้วยคำไหวพจน์ การบอกกล่าวสักกา ยอมมีได้ด้วยคำไหวพจน์แห่งสาวเดียวอย่างนี้ คือ :- นิคคุณะสาธารโภ ม ธารทิ ท่านจงทราบจำพาข้าไว้ว่า 'เป็นสาวของนิครณ', อาชิวิตตามปรปทพาจาปญฺญ- ท่านจงทราบจำพาข้าไว้ว่า 'เป็น รุงสาวของอาชิวาตปสุริทก และตาปะวา,' การบอกกล่าวด้วยคำว่า "อุดสมโณติ ม ธารทิ" ไม่ใช่เป็น การบอกกล่าวด้วยคำไหวพจน์ การบอกกล่าวสักกา ยอมมีได้ด้วยคำไหวพจน์แห่ง ผู้ใช้สมณะอย่างนี้ คือ :- ทุลสีโลติ ม ธารทิ ท่านจงทราบจำพาข้าไว้ว่า 'เป็น ผู้ศิล', ปาปฐมโภติ "" ท่านจงทราบจำพาข้าไว้ว่า 'เป็น ผู้มีธรรมมลา', อุสุจิตุกสูร- ท่านจงทราบจำพาข้าไว้ว่า 'เป็น สมอาโรติ' "" ผู้ไม่สะอาดและมีมาจารที่ตาม ระลึกด้วยความรักเกี่ยว,' ปฏิจฉนุ- ท่านจงทราบจำพ้าไว้ว่า 'เป็น กมมุนโตติ "" ผู้มงานปฏิโต, อสุสมโณ ท่านจงทราบจำพ้าไว้ว่า 'เป็น สมมปฏิญฺโญติ "" ผู้ใช้สมนะ แต่ปฏิญฺโญว่าเป็น สมณะ;'
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More