การแสดงความไม่มีเหตุในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 46
หน้าที่ 46 / 404

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการตีความคำสอนของพระพุทธเจ้าที่เกี่ยวข้องกับกรรมและวิบาก โดยเฉพาะในบริบทของพระสุภัทธ์ เราจะสำรวจความหมายของประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการอธิบายถึงความไม่ประเสริฐ และการเข้าถึงความจริงของการกระทำและผลกรรมที่เกี่ยวข้อง เนื้อหานี้จะกล่าวถึงวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา โดยมีการวิเคราะห์ความหมายของคำต่างๆ เช่น คำว่า 'วรมุณ' และ 'คณุสปุโลฉนู' พร้อมทั้งเชื่อมโยงไปถึงความสำคัญของกรรมในชีวิตและการปล่อยวางในการเข้าใจวิบากที่เกิดจากการกระทำ โดยมุ่งหวังให้ผู้ศึกษาได้รับความกระจ่างในคำสอนของพระพุทธเจ้า

หัวข้อประเด็น

-การตีความคำสอน
-วิบากและกรรม
-ความไม่ประเสริฐในพระพุทธศาสนา
-การศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับพุทธวจน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ค) - ปฐมสมันปาสถานกามาเปล่า ภาค ๒ - หน้า 46 ลำดับนั้น พระผู้พระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงความไม่มีเหตุ จึงตรัสว่า "นุบ มย โมหปุริส" เป็นคำบ่งหน้า คำทั้งหมดมี เนื่องความดังกล่าวแล้วกัน กรรมมอภ ที่พระสุภัทธ์ขึ้นน้ำแล้ว เมื่อให้ผล ย่อมเป็นกรรม มีวิบากเป็นทุกอย่างยิ่ง เพราะเหตุนี้ นั่นคือ เมื่อจะทรงกล่าวพระ สูติณด้วยพระหฤทัยประกอบด้วยความเน้นดู ดูมารดาบิดาผู้มีความเน้นดู ว่ากว่ามุตร ผู้ทำความผิดแล้วนั้น จึงตรัสว่า "วรมุณ โมช- ปุริส" เป็นคำ เพื่อแสดงวิบากนั้นแก่พระสูติณนั้น ในคำว่า "วรมุณ โมชูม-" เป็นคำนี้ มีวิจฉัยดังนี้ พิชของมันผู ้ ย่อมเล่นเร็ว คือไว เหตุนี้ นั่นคือ อาจวิสสะ (มีพิษเล่นเร็ว) พิชของมันฉ่ำ คำว่า ครีถรแรง เหตุนี้ มังจึงเข้า โมวิสสะ (มีพยภา).แห่งรสพิษ ที่พิษเล่นเร็ว มีพิกล้าน พิ้งเชื่อมบทนี้ว่า "ปฏิกูฏ" ด้วยบทว่า "วร" นี้ องชาติ อันเธอ สอดเข้าไปในปากแห่งมีพิษเล่นเร็วเช่นนี้ประเสริฐว่า อธิบว่า ถ้า ว่านะอะพิสสลอดเข้าแล้วไซร้, อนันจะพิษเป็นความประเสริฐ คือพิษเป็น ความดี ความงาม ความชอบแท้ บทว่า น ตวว มีความว่า ไม่ประเสริฐเลย คือไม่เป็นความดีเลย ได้แก่ไม่เป็นความชอบที่เดียว ในทุก ๆ บทนั้นมี บทว่า คณุสปุโลฉนู แปลว่า งูเห่า บทว่า อุกาทารกูลาย แปลว่า ในลูกที่เต็มไปด้วยถ่านเพลิง หรือในกองถ่านเพลิง บทว่า อาทิตตตาย แปลว่า อันไฟทดรัวแล้ว คืมีแสงสีไฟจางแล้ว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More