ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ปฐมสมันตาปะทาแปล ภาค 2 - หน้าที่ 133
เมียดยื่นนับเพื่ออุทิศ แม้บอกลาแล้ว ก็ย่อมไม่เป็นอันบอกลา. สิกขาแม้บอกลาแล้วในสำนักของภิกษุผู้งชานครงั้นนั้น เมื่อภิกษุผูกวาณจะแน่น นั่นเข้า ก็ไม่มีอันบอกลา.
สองบาท เทวดา สนุติกา ความว่า สิกขา ที่กูบอกลาแล้วในสำนักของเทวดาเริ่มแต่มาเทวดาไปจนถึงอนุฎฐา ย่อมไม่เป็นอันบอกลา.
บทว่า ติรจฉานคตสู ความว่า สิกขา ที่กูบอกลาแล้วในสำนักของามานพ343 สุบรรณามานพดี หรือในสำนักของเทวดาเหล่านิกนร ช่างและลิงเป็นต้นพวกใดพวกหนึ่งดีก็ ย่อมไม่เป็นอันบอกลาเลย.
สิกขา ที่กูบอกลาในสำนักของบรรดิกูบิ้งบ้านั้น ย่อมไม่เป็นอันบอกลาเท่า เพราะ (ภิกษุบบ้านั้นนั้น) ไม่เข้าใจ. ที่บอกลาในสำนักของเทวดา ก็ย่อมไม่เป็นอันบอกลา (เหมือนกัน) เพราะ (เทวดา) รู้เรื่องเร็วเกินไป. ชื่อวาเทวดาว่าที่มีปฏิสนธิเป็นใดเหตุ มีปัญญา มาก ย่อมรู่จะรีริเกินไป ก็ขึ้นชื่อว่านี่ ย่อมเป็นธรรมชาติเป็นไปรวดเร็ว; เพราะเหตุนี้ น พระผู้พระอากเจจิงรงหมายพระองค์ว่า "ความพิณของบุคคล (ภิกษุ) ผู้มีจิตกลับกลอกอย่ามีรีรอไปนาน เพราะอำนาจจิตนันเลย" จึงทรงห้ามการลิขาขาในสำนักของเทวดาไว้, ส่วนในหมู่มนุษย์ ไม่นิยมหน่วยไว้, สิกขา ที่กูบอกลาในสำนักของคนใดคนหนึ่ง ผู้เป็นอปกากัน (คือบุรษ) ก็ดตามผู้เป็นวิสากกัน (คือมุรซ) ก็ดตาม เป็นคฤหัสถ์ก็ตาม เป็นบรรพชิตก็ตาม ซึ่งเข้าใจ (ผู้มีจีงลสา) ย่อมเป็นอันบอกลาแล้วเท่. ถ้าว่าคนนัน