ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ปฐมสมันต์ปลาทาคำแปล ภาค ๒ - หน้า 234
กับคำว่า "ภิกษุยืนอยู่ในค่านภาษี โยนทรัพย์ให้ดาวค่านภาษี
ต้องอาบัติปราชิก" ดังนี้ ที่ซึ่งว่า อัตตลักษณะ ได้แก่ภุมิอังคะว่า
"ท่านอาจลักส่งของชื่อโน่นมาในเวลานั้น" บรรดาภิกษุผู้สังกับและภิกษุผู้ถูก ถ้าภิกษุผู้ส่ง ไม่มีอันตราย
ในระหว่าง ลักษณะนั้นมาได้, ภิกษุผู้สังกับ ย่อมเป็นปราชิกในเวลาลักได้แล้ว นี้ซึ่งว่า
อัตตลักษณะ ส่วนธริกษณะ พึงทราบด้วยคำาจากทรัพย์ที่เขาฝากไว้
ฉะนี้แล คำอธิบายมานี้ ชื่อว่า สาหติปัญจกะ.
[บุพพลประโยคปัญจกะ มีอาหร ๕ อย่าง]
บุพพลประโยคปัญจกะ เป็นในขน ? คือ บุพพลประโยคปัญจกะ
มีอาหร แม้อื่นอีก ๕ อย่าง ดังนี้ คือ บุพพลประโยคประกอบ
ในเบื้องต้น ๑ สาหปะโยค ประกอบพร้อมกัน ๑ สังวิหาร การ
ชักชวนไปคล่ำ สังเกตกรรม การนัดหมายกัน ๑ มัตตกรรม
การทำมินด ๑ บรรดาอาหาร ทั้ง ๕ เหล่านั้น บุพพลประโยค พึงทราบ
ด้วยอำนาจสังบังกัน. สาหปะโยค พึงทราบด้วยอำนาจการให้เคลื่อน
อากูฌาน. ส่วนอาหารทั้ง ๓ นอกจากนี้ พึ่งทราบโดยยัยที่มาแล้วในพระบาลี
นั่นแล คำอธิบายมานี้ ชื่อว่า บุพพลประโยคปัญจกะ.
[เฉยอาหารปัญจกะ มีอาหร ๕ อย่าง]
เฉยอาหารปัญจกะ เป็นในขน ? คือ เฉยอาหารปัญจกะ มีอาหร