ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ปฐมมัณฑปอาสาฯ ภาค ๒ - หน้าที่ 375
จับเป็นผ้าสาฯกู เราจักถือเอา ปรึกปาวาหาร ไม่ปรากฏเพราะเห็น แล้วจึงลัก. แต่ในมหารฏกถา ท่านปรับอาราหารแก่ภิกขูผู้ขึ้นซึ่ง ภัตะที่กำหนดไว้ ตอนไม่ได้เห็น แต่ก็ยังอยู่ในความเป็นของอันตน กำหนดไว้แล้วนั้นเอง. เพราะเหตุนี้น ปรึกปาวาหาร จึงปรากฏในมหาอรรถกถานั้น. อาหารที่กล่าวไว้ในมหารฏกถานั้น สมด้วยพระบาลี ว่า “ต มลูมณโณ ต อวริ”. สำคัญว่า เป็นสิ่งนั้น สั่งสั้นนั้น ฉะนี้แล. บรรดาปริปันจ์ ๒ นั้น การกำหนดนี้คือ ที่เป็นไปโดยถ้อย เป็นดันวา "ถ้าจักเป็นผ้าสาฯกู เราจักถือเอา" ดังนี้ การกำหนดนี้ ชื่อว่า ภัตปริป (การกำหนดสิ่งของ).
[อรรถาธิบายโอกาสปริก]
ส่วนการกำหนดโอกาส พึงทราบอย่างนี้: ภิกฺขโฬมงงูปน ศาสนานี้เข้าไปยังบริเวณของผู้อื่น หรือเรือนของตระกูล หรือโรง ซึ่งเป็นที่ทำงานในปกติ แล้วฉันในนั้น กับการสนทนาปราศรัย มองดูบริบูรณ์เป็นที่ตั้งแห่งความโลภงอย่าง ,ก็เมื่อนองดู พบ เห็นแล้ว จึงได้ทำความกำหนด ด้วยอามาณสถานที่เป็นประตู หู หน้าผาก ภายในปราสาท บริเวณ ชุมประตูดู และ โทนเป็นต้น แล้วกำหนด หมายไว้ว่า “ถ้าพวกเจ้าของจักเห็นเราในระหว่างนี้, เราจะทำที่เป็น หยิบ เพื่อดั่งการดูทีวี” ไป จักคืนให้แกเขาเหล่านั้นแนละ, ถ้าพวก เขาจักไม่เห็นใช่, เราจักถือเอา “ดังนี้, พออภิญญานนี้คือทรัพย์ นั้นล่วงเลยแดนกำหนดที่หมายไว้เป็นปราศจาก ถ้าออกคน หมายแดนอุปจารไว้ เดินมุ่งหน้าไปทางนั้นเอง มนสิกาธรรมฐาน