อรรถาธิบายสิ่งของเจ้าของมีกรรมสิทธิ์อยู่ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 228
หน้าที่ 228 / 404

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ของเจ้าของทรัพย์ โดยการแยกแยะความแตกต่างระหว่างสิ่งของที่เจ้าของยังไม่ได้ให้และสิ่งของที่ผู้อื่นหวงแหนอยู่ รวมถึงกรณีความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับการถือครองทรัพย์สิน การใช้คำต่างๆ เพื่อชี้ความหมายของกรรมสิทธิ์และการรักษาทรัพย์ไว้โดยเจ้าของอย่างไร โดยเฉพาะในกรณีที่ยังไม่ถึงมือผู้รับให้.

หัวข้อประเด็น

- กรรมสิทธิ์ของเจ้าของ
- การรักษาทรัพย์
- ความหมายของการถือครอง
- ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าของและผู้อื่น
- การอธิบายทรัพย์สินตามกฎหมาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสัมผัสทาสภาคสังแปล ภาค ๒ - หน้า ที่ 228 [อรรถาธิบายสิ่งของเจ้าของมีกรรมสิทธิ์อยู่] บัดนี้ เพื่อแสดงเนื้อความแห่งคำเป็นต้นว่า “พึงถือเอาทรัพย์ อันเจ้าของมิได้ให้ ด้วยส่วนแห่งความเป็นมนุษย์” ดังนี้ พระองค์ จึงตรัสว่า “อทนุ่น นานาม” เป็นต้น ในคำว่า “อทนุ่น นามา” เป็นคำนี้ มีวิริฉันฉัยดังนี้ - ในทันทีโปสิกาขาบท แม้สิ่งของ ๆ ตน ที่ยังไม่รับประเคน ซึ่งเป็นกับปิยะ แต่เป็นของที่ไม่ควรกิน เรียกว่า “ของที่เขายังไม่ได้ให้” แต่ในสภาพานี้ สิ่งของอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ผู้อื่นหวงแหน ซึ่งเป็นเจ้าของ เรียกว่า “สิ่งของอันทเจ้าของไม่ให้” สิ่งของนี้นั้น อันเจ้าของอันทเจ้าของไม่ได้ให้ ด้วยกายหรืออาวาส เพราะเหตุนี้ จึงชื่อว่าส่งของอันทเจ้าของไม่ได้ให้. ชื่อว่าอันทเจ้าของ ยังไม่ได้จะไม่ได้สะท้อน เพราะยังแม้ทรัพย์ดังอยู่ ในที่เดิมแล้ว แต่เจ้าของยังไม่ได้สะท้อน เพราะยังไม่หมดความเสียดาย. ชื่อว่า อันทเจ้าของอยู่ เพราะเป็นของที่เจ้าของยังรักษาไว้ โดย จัดแจงการอาบอาหาร คำว่า อันทเจ้าของกันครองอยู เพราะเป็นของ ที่เจ้าของใส่ไว้ในที่ที่ตนหลอมูปีเป็นต้นแล้วปกครองไว้. ชื่อว่า อันทเขา ยังคือว่าเป็นของเรา เพราะเป็นของที่เจ้าของยังอือรรมสักว่าว่าเป็น ของเรา โดยความถือว่าเรา ด้วยอำนาจดนทว่า “ทรัพย์นี้ ของ เรา.” ชื่อว่า ผู้อื่นหวงแหน เพราะว่า เป็นของอันทคนเหล่าอื่น ผู้นั้นเป็นเจ้าของทรัพย์เหล่านั้นยังหวงแหนไว้ คำก็มีอ้อนีงไม่สะท้ง ไม่ได้ให้.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More