การวิเคราะห์และการประเมินผลในด้านวัสดุและโครงสร้าง ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 271
หน้าที่ 271 / 404

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจถึงการจัดการและการปฏิบัติในการวิเคราะห์วัสดุและโครงสร้างภายในภัททะ โดยเน้นถึงความสำคัญของการจับต้องและการวางตั้ง รวมถึงตัวอย่างของสกูที่มีผลต่อการพิจารณาผลกระทบทางกายภาพในภัททะ การพิจารณาความเหมาะสมในการจับต้องหรือไม่จับต้อง เป็นประเด็นสำคัญที่ต้องมีความเข้าใจเพื่อการใช้วัสดุอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อเกี่ยวข้องกับโครงสร้างที่มีฐานกับอำนาจของเท้าทั้งสี่บนเตียง.

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์วัสดุ
-โครงสร้างภัททะ
-การจับต้องวัตถุ
-การตั้งฐานของวัสดุ
-การใช้วัสดุในเชิงประจักษ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- ปฐมสมัยปลาสติกแปล ภาค 2- หน้าที่ 271 กว่าจะด้วยทรัพย์ที่อยู่ในกลางแจ้ง พิทักษ์วินิจฉัยในภัททะที่ตั้งอยู่ในกลางแจ้ง ภัททะที่วางง ไว้บนเตียงและตั้งเป็นดั่ง จะเป็นของควรจับต้อง หรือไม่ควรจับต้อง กินตาม เมื่อภิฏฐจับต้องด้วยใจก็เป็นทุกกุฏิ กัล ในภัททะที่เขา 'วางไว้บนเตียงและตั้งนี้ ควรทราบวินิจฉัยตามนิยามที่กล่าวไว้ในภัททะที่ตั้ง อยู่บนบก ส่วนความแปลกกัน พึงทราบดังนี้- ถ้าผ้าสกูกที่แข็งเพราะน้ำขัง ซึ่งแขนไว้ดีหรือดัง ตรง กลางไม่ถูกพื่นเดียง ถูกแต่เท้เดียงเท่านั้น พึงทราบฐานด้วยอำนาจ แห่งเท้าทั้ง 4 ของเตียงนั้น จริงอยู่ เมื่อผ้าสกูนนั้น สักอ่อนภิฏฐอให้ ล่วงเลยโอกาสที่ถูกบนบานแห่งเท้าเตียงเท่านั้น ยอมเป็นปราชิก ใน เพราะเหตุให้กว่างล่วงนั้น แต่เมื่อภิฏฐลูกไปรอทั้งเตียงและตั้ง พึง ทราบฐานด้วยอำนาจโอกาสที่เท้เตียงและตั้งดังงเดอยู่ บทว่า จีรวาส วา มีความว่า บนราวหรืบนท้องไม่ให้เขา ผูกตั้งไว้ เพื่อประโยชน์แก่การพาดจีรว. เฉพาะโอกาสที่ถูกกับโอกาส ที่ตั้งอยู่เป็นฐานของจีรว ที่พาดไว้บนราวนั้น ซึ่งเคาหหมายไว้ข้างนอก เอานนใว้ข้างใน ราวจีรว ทั้งหมด ทำได้เป็นฐานไม่ เพราะเหตุนี้น เมื่อภิฏฐอันจีรวั้นทีบบนด ดึงมาก้วยไไจก็ ให้โอกาสที่ตั้งอยู่บราว ด้านนอก ล่วงเลยประเทศที่ราชจีรวถูกด้านไป เป็นปราชิก ด้วย การดึงมาเพียงนิ้วเดียว หรือสองนิ้วเท่านั้น. แม้ขณะภิฏฐผู้จับที่ชาย ดึงม ก็เหมือนกันนี้. แต่เมื่อภิฏฐลูกลงข้างซ้าย หรือข้างขวามรานราว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More