ปฐมสัมผัสกากาแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 385 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 385
หน้าที่ 385 / 404

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้านี้พูดถึงความอาลัยของเจ้าของและโจรเมื่อมีการภิทกุฉันในรูปแบบที่สอดคล้องกับพระวินัย การไม่ถืออาบัติเมื่อฉันด้วยความตั้งใจ และความหมายของการฉันผลไม้ที่ละทิ้งในวัดร้าง เน้นการปฏิบัติตามข้อกำหนดของสงฆ์ในการบริโภคอาหาร พร้อมทั้งคุณค่าและความสำคัญของผลไม้ในบริบทการฝึกทางปฏิบัติในพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-ความอาลัยของเจ้าของ
-การภิทกุฉันอาหาร
-พระวินัยธร
-ผลไม้ในวัดร้าง
-การรักษาความตั้งใจเมื่อบริโภค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค-ปฐมสัมผัสกากาแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 385 ดังต่อไปนี้:- แม้วพวกเจ้าของมีความอาลัย, แม้วพวกโจรมีความอาลัย. เมื่อภิทกุฉันด้วยงสัญญา เป็นภัตไทย. เมื่อถือเอาด้วยไอจิต เป็นอาหารในขณะนี้นั่นเอง, ภิกษุนั้น อันพระวินัยธร ฟังให้ราคาสิ่งของแล้วปรับอัต พวกเจ้าของยังมีความอาลัย, แต่พวกโจรหมดความอาลัย คืนนี้เลยเหมือนกันนี้. พวกเจ้าของหมดความอาลัย, พวกโจรยังมีความอาลัย ซ่อนในในที่รัชฎ์แห่งหนึ่ง ด้วย คิดว่า "ถิถือเอาอีก" ดังนี้ แล้วไป มันเหมือนกันนี้. ทั้ง ๒ ฝ่าย หมดความอาลัย, เมื่อภิทกุฉันด้วยงสัญญา ไม่เป็นอาบัติ, เมื่อขบฉันด้วยไอจิต เป็นทุกข์. ส่วนในมณฑลเป็นต้น ของสงฆ์ มีวิถีจังดังนี้:- ผลไม้มี มะม่วงเป็นต้น ซึ่งเกิดในล้มานราม หรือที่เขานำมาจากตานที เมื่อภิทกุฉันด้วยงสัญญา ๕ มาตา หรือเกินกว่า๕ มาตา เป็นปราณิก ในปัจจุบันนบ เมื่อพวกชาวบ้านอพพพน ไป-เพราะอุปะระ คือ โจร, พวกภิทกุจะทิ้งวัด ไปทั้งที่ยังมีความอุตสาหะอยู่ท่านั้นเทียว ว่า "เมื่อชาวนากลับมาอยู่ พวกเราจักกลับมา." พวกภิทกุไปถึงวัด เช่นนั้นแล้ว คิดว่า "ผลไม้ทั้งหลายมีมะม่วงเป็นต้น เป็นของที่เขา ละทิ้งแล้ว" จึงฉันด้วยงสัญญา ไม่เป็นอาบัติ. เมื่อภิทกุฉันด้วย ไอจิต เป็นอาหาร, ภิกษุนั้น อันพระวินัยธรฟังให้ราคาของ แล้วปรับอัต ส่วนในหน้าปฏิชีวนในรัฐอันอรรถกา ท่านกล่าวไว้ด้วยไม่แปลกกันว่า "เมื่อภิทกุฉันผลไม้ไม่ออใหญ่ในวัดร้าง ด้วยไอจิต ไม่ © ภิกษาสารัตฯที่นี่แก้วา วุฒาจารุติ คำมิ ฉทูทวดา ปลายบุตร.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More