การศึกษาไม้ชำรัฟันในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 311
หน้าที่ 311 / 404

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการศึกษาเกี่ยวกับไม้ชำรัฟันในพระพุทธศาสนา เน้นถึงข้อวิจารณ์และกฎเกณฑ์การใช้ไม้ชำรัฟันโดยบรรดาภิกษุและสามเฌอ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการถวายและรับอาบัติตามราคา สิ่งของในที่นี้ อธิบายถึงการทำไม้ชำรัฟัน การเก็บเกี่ยว กฎเกณฑ์ในการถวาย รวมถึงความลึกซึ้งของวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดที่วิเคราะห์ในบทความเป็นส่วนหนึ่งของความรู้ในพระพุทธศาสนาที่สืบทอดมา.

หัวข้อประเด็น

- บทบาทของไม้ชำรัฟัน
- กฎเกณฑ์การถวายไม้ชำรัฟัน
- ความสำคัญในพระพุทธศาสนา
- การศึกษาการใช้งานไม้ชำรัฟัน
- วัฒนธรรมและประเพณีที่เกี่ยวข้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๓- ปฐมมัตปลาสำคัญแปล ภาค ๒ - หน้า ที่ 311 ถากว่าด้วยไม้ชำรัฟัน ไม่ชำรัฟัน อันผู้ศึกษาพึ่งวิจัยฉลาดตามข้อวิจารณ์ฉลาดตั้งอยู่ ในเสวนา ส่วนความแปลกกันในไม่ชำรัฟัน มีดังต่อไปนี้:- ไวยัจกรณใด เป็นผู้ศาสมาเสี่ยงไว้ด้วยคำบำเหน็จ ยอมนำไม้ ชำรัฟนามถวายทุกวัน หรือตามวาระปิ้นและเดือน, ไวยัจกรณนั้น นำไม้ชำรัฟนั่นมา แม้คัดแล้ว ยังไม่ให้กุศลสมรับเพียงใด, ไม้ ชำรัฟนั่น ก็ยังเป็นของไว้วัจกรณผู้นำนั้นเองเพียงนั้น. เพราะ เหตุนี้น ภิกษุอิฉปิเอาไม้ชำรัฟนั่นด้วยไก่จิต พึงปราบอาบัติตามราคา สิ่งของ. อันนี้ มียองครูภัณฑ์ซึ่งเกิดขึ้นในโบราณนั้น, ภิกษุเมื่อเอา ของครูภัณฑ์ในมือนั้น มีกิญญุสุขรักษามักครอง ก็พึงปราบอาบัติตามราคา สิ่งของ. แม้นในไม้ชำรัฟนีดัดแล้วและยังไม่ได้ดัด ซึ่งเป็นของคณะบุคคล และมนุษย์อักษรหัสก็หล่านนั้น ก็มีเนินนี้เหมือนกัน. สามเฌอ ทั้งหลาย เมื่อไม่ชำรัฟนามถวายแก่วิญญุสงค์ ตามวาระ ย่อมนำมา ถวายแม้แก่พระอาจารย์และอุปชฌายะ (ของตน), เธอเหล่านั้น ตัดไม้ชำรัฟนั่นแล้ว ยังไม่ให้สงรับเพียงใจ, ไม่ชำรัฟนั่น แม้ทั้งหมด ก็ยังเป็นของเธอเหล่านั้นเอง เพียงนั้น. เพราะเหตุนี้น ภิกษุเมื่อเอาไม้ชำรัฟแม้นด้วยไก่จิต ก็พึงรับอาบัติตามราคา สิ่งของ แต่เมื่อใด สามเฌอเหล่านั้นตัดไม้ชำรัฟนแล้ว ได้มอบถวาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More