ปฐมสมัยตามสำนวนทาแปล ภาค ๒ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 2 หน้า 368
หน้าที่ 368 / 404

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการตีความศัพท์ในพระธรรมเกี่ยวกับอาบัติและการนำสิ่งของที่ไม่มีเจ้าของกลับคืน โดยอธิบายความหมายของบทต่างๆ และแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นเจ้าของและการปล่อยวางทางศาสนา โดยเฉพาะในกรณีของภิญโญและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์นี้สำคัญเพื่อให้เข้าใจความหมายในการปฏิบัติธรรม และนำไปสู่ความเข้าใจที่ถูกต้องในศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การตีความศัพท์
-อาบัติในพระธรรม
-ความเป็นเจ้าของ
-ภิญโญและกฎเกณฑ์
-การปล่อยวาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(๓) - ปฐมสมัยตามสำนวนทาแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 368 บทว่า ปฏิสุขสัญญูสฤษฏ์ ความว่า แม้สำหรับภิญโญผู้มีความสำคัญอย่างนี้ว่า "สิ่งของนี้ ไม่มีเจ้าของ เป็นของบังสุกุล" ไม่เป็นอาบัติ เพราะกืออา: แต่ลำสังของมันมีเจ้าของใช่รือ, เมือเขาให้นำมาคืนก็ควรคืนให้, บทว่า อุ้มมุตสัญญูสฤษฏ์ ความว่า ไม่เป็นอาบัติแม้แต่กฎฏิความเป็นบ้านซึ่งมีการกล่าวแล้วในเบื้องต้น. บทว่า อุทมภูมิฤกษ์ ความว่า ไม่เป็นอาบัติแก่พระธิษณุเป็นอาทิภูมิระ (ผู้เป็นต้นบญญัติ) ในสิกขาบทนี้, แต่อสหรับภิญโญฉะพักคีย์เป็นต้น ผู้อกผ่านของช่างอ้อมเป็นต้นที่เหลือ เป็นอาบัติทั้งนั้น ฉะนี้แล. จบการพระธรรมนานกาธนีย์. ๑. ถ้าถือตามโยษนาก็แปลว่า ไม่เป็นอาบัติในเพราะการถือเอาเม็งของภิญโญ....
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More