ข้อกฎหมายว่าด้วยการเรียงประโยค ๒๓ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 39
หน้าที่ 39 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเรียงประโยคตามหลักกฎหมาย โดยเน้นความชัดเจนและความถูกต้องในการใช้คำ ซึ่งการเรียงคำอย่างเหมาะสมนั้นช่วยให้สามารถสร้างประโยคภาษาบาลีได้ง่ายขึ้น. คำที่ทำหน้าที่เป็นประธานในประโยคมีหลายประเภท เช่น คำที่เป็นประธานทั่วไปและคำที่ผสมกัน.

หัวข้อประเด็น

-การเรียงประโยค
-กฎหมายและภาษา
-คำประธานในภาษาบาลี
-หลักการใช้ภาษาที่ถูกต้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อกฎหมายว่าด้วยการเรียงประโยค ๒๓ อ่าน และไม่รู้เรื่องราวมาก่อน จึงต้องเขียนให้ชัดเจนชนิดดั้งไม่ได้ อย่าคิดว่ากรรมการมีความรู้รู้ดีกว่าเรา ท่านรู้มาแล้วว่าทรงแปลของเราได้ ต้องคิดว่ากรรมการนั้นมีหน้าที่คอยจับผิดและคอยจับผิดความรู้ของเรา แม้จะรู้ว่าเราเข้าใจกฎหมาย ก็ต้องปรับเป็นผิดอยู่เนื่องเอง ดังนั้น การเรียงคำเข้าสาประโยคให้ถูกต้อง ตามหลักแห่งความนิยมทางภาษา และให้ชัดเจนไม่คลุมเครือว่าอย่างนี้ก็ได้ อย่างนั้นก็ได้ จึงเป็นสิ่งจำเป็น เมื่อมีความเข้าใจ กฎหมายแตกต่าง ๆ ของการเรียงคำแต่ละคำก็ไปตามหน้าที่อย่างถูกต้องแล้ว ก็จะสามารถสร้างประโยคภาษาบาลีได้เองตามต้องการโดยไม่ยากนัก และจะเป็นอุปกรณ์ในการศึกษาในชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีกด้วย วิธีเรียงปฐมาวิภัตติ บทประธาน คำฝ่ายปฐมาวิภัตติซึ่งทำหน้าที่เป็นบทประธานในประโยคนัน มีมากมาย ซึ่งพอสรุปให้เห็นได้ว่า คำฝ่ายจะเป็นประธานได้นั้นคือคำพท์จำพวกต่อไปนี้ ๑. คำที่ผ่านมาแน่ทั่วไป เช่น กิญฺญู ปุริโส อิติ ธน ๒. คำที่ผ่านมาเป็นผสม คือ คำพระสมาสหรือลคำตัศฮิติที่ผสมกันตั้งแต่สองคำขึ้นไป และใช้เป็นนามนามได้ เช่น สทูถสภา ธมม-เทศนา สายภาว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More