คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.๕-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 20
หน้าที่ 20 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.๕-๙ เน้นความสำคัญของการมีความกล้าในการเรียนรู้ การวิเคราะห์และการทดลองทำ เพื่อพัฒนาทักษะการแปล สอนหลักการต่างๆ เช่น ไวยากรณ์ สำนวน และการเขียน นอกจากนั้นยังเน้นถึงการจำที่มีประสิทธิภาพเพื่อการสอบที่สำเร็จได้ในทุกชั้นเรียน.

หัวข้อประเด็น

-หลักการแปล
-การใช้ไวยากรณ์
-การเรียงศัพท์
-การเขียนภาษาไทย
-การสอบและความสำเร็จ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.๕-๙ ผู้ต้องการเรียนรู้ชาตินี้ จำต้องอาศัยความกล้าเป็นเบื้องต้น คือ กล้าที่จะลองทำลองวิเคราะห์ และลองดูตัวเองว่ามีขนาดไหน พื้นฐานทางไวยากรณ์ และความจำศัพท์ต้องดีพอสมควร หลักเกณฑ์การเรียงศัพท์เข้าประโยคเป็นส่วนสำคัญที่สุด แต่ ทั้งนี้ไม่หมายความว่าอาศัยความชำนาญในหลักเกณฑ์อย่างเดียว หรือ สอนอย่างก็ใช้ได้ ที่จริงต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในเรื่องต่างๆ คือ ๑. หลักการเรียง ๒. ไวยากรณ์ ๓. สำนวน ๔. ศัพท์ ๕. การเขียน ผู้มีความชำนาญในเรื่องเหล่านี้ ก็มีทางที่จะผ่านวิชานี้ได้ทุกชั้น ทุกประโยคโดยไม่ยากนัก ดังคำประณีตเตือนใจว่่า กฎเกณฑ์ใช้ได้ ไวยากรณ์แม่นยำ จำนวนคำถูก ผกศัพท์สมความ เขียนงามอ่านง่าย สอบได้ทุกปีฯ อันง “ความจำ” เป็นสิ่งจำเป็น แต่การสอบได้ต้องอาศัย ความจำเพียงอย่างเดียวในทุกชั้นทุกประโยคเสมอไป แต่ละบุคคลมี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More