ข้อความต้นฉบับในหน้า
การเรียงประโยคอธิบายความ ๒๕๗
๒. เมื่อพิจารณาโดยอ๋องแท้แล้วว่าเปรียบเทียบอะไร เปรียบเทียบกับบทไหนในประโยค พิงปฏิบัติอย่างดังนี้
- ประกอบบทอุปมา (บทเปรียบ) ให้มีวิภัติตเหมือนกับบทอุปไมย (บทถูกเปรียบ) แล้วเรียงไว้นำบทอุปไมยข้างหลังภิริยาบางสุดแต่ความ
- ใช้ วิย ศัพท หรือ อิว ศัพท์ วางไว้หลังบทอุปมานั้น โดยมากใช้ วิย ศัพท์มากกว่า
ข้อสำคัญที่สุดในลักษณะนี้คือ “บทอุปมาจต้องมีวิวิตติเดียวกับบทอุปไมย” อันนี้ถือเป็นเค러운ครัง หากประกอบผิดวิวิตติกัน ทำให้ความหมายคลาดเคลื่อน จนไม่อาจทราบได้ว่าเปรียบอะไรบ้ยอะไร เปรียบลักษณะไหน ขอให้ดูตัวอย่างต่อไปนี้
ความไทย : ก็ ธรรมดาเทวดาหลายอาศัยเหตุบางอย่างเท่านั้นจึงมียังโลกมนุษย์ ซึ่งเป็นดุจที่ (ถ่าย) เวลอันเต็มไปด้วยของไม่สะอาด ๆ
เป็น : เทวตา ทิ กัญจิวา การณ ปฐมจอ อสูรปฐวีววจุตาสานิ วิย มนุสโลก์ อาคฉุจติ ๆ (มงคล ๑/๗)
ชี้แจง : วิจฉภูฏาน ทำหน้าที่ขยาย มนุสโลก์ คือ เปรียบโลกมนุษย์เหมือนกับที่ (ถ่าย) เวล จึงต้องประกอบศัพท์ให้มีวิวิตติเสมอกัน (ทุกวิภัตติ)
ความไทย : ความวิสิฏชื่อว่าความเดือดร้อน เพราะอรรถว่า เป็นเครื่องบินคัน ก็ภิญชั้นย่อมขบฉันบิณฑบาตเพื่อ