กฎเกณฑ์การเรียงประโยค คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 83
หน้าที่ 83 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเกี่ยวกับการเรียงประโยคในภาษาไทย โดยแสดงตัวอย่างประโยคที่อาจเรียงผิดและเหตุผลที่ทำให้เกิดความเข้าใจผิด นักศึกษาอาจพบปัญหาการเรียงประโยคเนื่องจากการไม่ใช้เครื่องหมายวรรคตอนอย่างถูกต้อง การวางประโยคในรูปแบบที่ไม่ถูกต้องอาจทำให้ข้อความมีความหมายที่ผิดไป และมีกฎที่ระบุว่าประโยคที่สิ้นสุดแล้วจะต้องมีเครื่องหมาย “?” เพื่อให้การเรียงประโยคมีความถูกต้องและเข้าใจได้ดีขึ้น...

หัวข้อประเด็น

-การเรียงประโยค
-ความสำคัญของเครื่องหมายวรรคตอน
-ตัวอย่างการเรียงประโยคผิด
-ข้อควรระวังในการเขียนข้อความที่ถูกต้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กฎเกณฑ์การเรียงประโยค ๖๗ นิโลกกาทิมภ์ โหว็ต, น จ นว อุทกํ นาภิ ปรืม ปสนุนอุกเมว ๆ (๑/๒๓) อีกข้อหนึ่ง ประโยคข้างหน้านี้สิ้นสุดข้อความไปแล้ว แต่ไม่มีเครื่องหมาย “?” คั่น ก็ไม่นับเป็นหนึ่งของประโยคดังไป และประโยคเลขนอกทั้งหมดก็ไม่บ่นเป็นหนึ่งของประโยคเลขในด้วย เคยพบ นักศึกษฯ เรียงนิบทแบบนี้ผิด อาจเป็นเพราะเข้าใจผิดได้ เช่น ความไทย : เศรษฐีนี้รับเราในฐานะ ที่ไม่ควรรักษา จริงอยู่เราตัดศิริของตน ซึ่งระดับตกแต่งแล้ว....สิ้น สื่อสงไชย กำไรแสนกับ... เรียงว่า : อย่า เสสุรี ม อารคชิตพุฒา นา ราชาติ, หิ อโห กปัสสลสาสาธิกา จตุ ตรี ลงเขยอญี ลงกฎปฏิบัตติ สิสิ ฉินทิวา.....(ผิด) (๑/๕) ความไทย : พระติสสะนั่นให้เกิดขัดตายมานะขึ้นแล้ว ถามว่าท่านมายังสำนักงานใดกัน เมื่อเขาตอบว่า สำนักงานพระศาสดา จึงกล่าวว่า ก็พวกท่านสำคัญ ผมว่าท่านรูปนี้ เป็นใคร ดังนี้...... เรียงว่า : โส ขดตยามาน์ ชนดวา ตุมเห กาสสนต์ อาตาติ ปฏิวา “สตต สนฺติฏฺฐ วุตฺต, “ปน ม โก เอโลติ สลอดกเขา ฯปะ (ผิด) (๑/๒๗) การวางนิบาตในสองประโยคนี้ผิดทั้งสิ้น ซึ่งมองดูแล้วเหมือนไม่ผิด เพราะวางไว้กลางข้อความ แต่ดั้วเพราะประโยคสุดลง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More