การเรียงประกอบคำในภาษาไทย คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 271
หน้าที่ 271 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ว่าด้วยการใช้คำเปรียบเทียบในภาษาไทย โดยมีกฎเกณฑ์และแนวทางในการเลือกคำและการวางไว้ในประกาย เพื่อให้สามารถเข้าใจความหมายและการใช้คำได้อย่างถูกต้อง การเปรียบเทียบจะต้องมีความหมายชัดเจนและไม่สามารถกำหนดเป็นกฎตายตัวได้ ต้องพิจารณาในบริบทและความเหมาะสมของการใช้งาน.

หัวข้อประเด็น

-การใช้คำอุปมา
-การเปรียบเทียบในภาษาไทย
-หลักการเรียงคำ
-ความหมายในประโยค
-การเลือกคำและวางคำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การเรียงประกอบคำ ๒๕๕ (๓) ในกรณีที่มีการเปรียบเทียบเป็นประกายอุปมาซึ่งมี จำนวนไทยว่า "เปรียบเหมือน, เหมือน, ดั่งเช่น, เปรียบดัง" เป็นตัน มีข้อความที่ควรศึกษาและคำนึงถึงหลายประการ เช่น ๓.๑ จะใช้คำอะไรให้ตรงกับจำนวนไทยนั้น ในบรรดาคำที่ เหล่านี้ คือ อิ้ว วิ่ง ยถ ยาด ยา-ตา เสยยอดปี ๓.๒ ต้องเข้าใจความหมายในประโยคว่า เป็นการเปรียบ เทียบอะไร เปรียบเท่าน่องไหน เปรียบกับบทไหนใน ประกาย ๓.๓ ต้องประกอบกับคำท้อย่างไร แล้ววางไว้ตรงไหนใน ประกาย ๓.๔ จะแต่งใส่คำทดเต็มประกายหรือควรจะใส่คำได้ไ ช ไม่ ต้องใส่เข้าไป แต่สามารถรู้ได้ว่าได้ละคำที่ใดไว้ ในบรรดาทั้งหลาย ที่มีการเปรียบเทียบเช่นนี้ ท่านมีวิธีใช้คำและ วางคำที่ไม่แน่นอนตายตัวว่าจะต้องเป็นคำที่นั้น หรือจะต้องวางไว้ ตรงนั้นเท่านั้น ใช้อย่างอื่นเป็นผิด แต่เมื่อท่านใช้ไว้แล้ว ก็สามารถรู้ ความหมายได้ทันที ดังนั้น จึงไม่อาจวกฎระเบียบที่ตายตัวลงไปได้ใน เรื่องนี้ แต่อยาพอชี้แจงเป็นแนวทางได้ ดังต่อไปนี้ ๑. ในประกายเดินเรื่องหรืออธิบายความธรรมดา ถ้ามีการเปรียบ เทียบในระหว่างประกาย และคำที่เปรียบนี้ มีลักษณะเป็นวิเศษสะแ ของบทประธานในประกายนี้เอง มิได้เป็นคำทับลงที่เป็นตัวประธานใหม่ ลักษณะเช่นนี้พึงปฏิบัติดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More