ข้อความต้นฉบับในหน้า
๒๗๗๗๗ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคร ป.ธ.๔-๙
สยุนี รูปรวมกันจะต้องเป็น สยานาสน ขอนักศึกษา พึงพิจารณาให้ละเอียดเถิด ยังมีตัวอย่างเปรียบเทียบอีกมาก และหลายรูปแบบ ขอให้ นักศึกษาพึงทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ในทุกๆ แบบ ก็จะเป็นอุปกรณ์ต่อ ไปในการแต่ง เมื่อเข้าใจการเดินรูปประโยคเสียแล้ว ย่อมสามารถจะ วิเคราะห์ได้ทุกๆ รูปแบบ ขอให้เข้าใจให้ลึกซึ้งซึ่งเป็นได้
(๕) ในกรณีที่จำนวนไทยมีข้อวามซ้ำกันหรือมีข้อวามสั้นๆ หัวๆ ไม่งงว่าเป็นวิธีติ๋อะไร ท่านมีวิธีเรียงคำให้ใช้คำโดยเฉพาะ คือ ตัดคำที่ซ้ำกันออกเสีย เหลือไว้เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน ทั้งนี้ เพื่อความละ สวยของภาษา ซึ่งมีเช่นนี้ทุกภาษEg เช่น ในภาษไทยว่า ถาม : คุณจะไปไหน ตอบ : วัดครับ (คำเต็ม ไปวัด) ถาม : ไปทำไมล่ะ ตอบ : ธุระ ครับ (คำเต็ม ทำธุระ) เพียงเท่านี้ก็เข้าใจความหมายกันได้แล้ว ลักษณะเช่นนี้ แม่ใน ภาษาบาลีท่านนิยมใช้ แต่เวลาแปลท่านก็จะแปลออกศัพท์ทั้งหมด เพื่อทดสอบภูมิของผู้ศึกษาดู หรือแปลเป็นบรรทัดไม่ออกสำเนียงอายุตินิบาต ทำให้นักศึกษางงได้เหมือนกัน ดังนั้น จึงควรศึกษาให้เข้าใจในความนิยม ของภาษาเช่นนี้ คือ ๕.๑ ขความมะต้องมีความบริบูรณ์ในประโยคใดประโยคหนึ่ง จะเป็นประโยคแรกหรือประโยคหลังได้ แต่เนียมแต่งประโยคแรกสมบูรณ์