หลักการแต่งไทยเป็นครู ป.ธ.๙๒๙๗ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 313
หน้าที่ 313 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาดังกล่าวเสนอหลักการและกระบวนวิธีการแต่งไทยเป็นครู โดยเน้นความสำคัญของการตีความเพื่อให้ผู้แต่งสามารถเข้าใจและเรียบเรียงเนื้อความได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ยังมีข้อแนะนำเกี่ยวกับการตามความ การเติมความ และการตัดความ ซึ่งเป็นแนวทางหลักที่สำคัญสำหรับนักศึกษาในการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ.

หัวข้อประเด็น

-การตีความ
-การตามความ
-การเติมความ
-การตัดความ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักการแต่งไทยเป็นครู ป.ธ.๙๒๙๗ เสื้อคน" ซึ่งไม่ถูกต้อง ๕. ความคิดและอารมณ์ความรู้สึกของผู้แต่งในขณะแต่ง จะต้องผูกพันอยู่กับกรอบของภาษามครตลอดเวลา โดยไม่นำความคิดและอารมณ์ส่วนตัว หรือกรอบภาษาไทยเข้าไปปะปน คำว่าคิดอยู่เสมอว่ากำลังแต่ง หรือเขียนภาษามครต้อง มีใช้กำลังแต่งหรือเขียนภาษาไทย เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับกระบวนวิธีการแต่งไทยเป็นครู ดังกล่าวแล้วข้างต้นโดยละเอียด ต่อไปนี้จะแสดงกระบวนวิธีนั้นไปโดยลำดับตามหัวข้อ อันเป็นเรื่องหลักที่ควรรู้ ๔ ประการด้วยกัน คือ ๑. การตีความ ๒. การตามความ ๓. การเติมความ ๔. การตัดความ ๑. การตีความ ในการแต่งไทยเป็นครู การตีความถือว่าเป็นหลักเบื้องต้นที่สำคัญที่สุด เพราะก่อนที่จะแต่งนักศึกษาจะต้องอ่านและทำความเข้าใจเนื้อความภาษาไทยที่กำหนดให้แต่งนั้นโดยแจ้งเป็นอันดันดับแรก แล้ว ตีความนั้นให้แตก คือ จับประเด็นในภาษาไทยให้ได้ว่าเป็นอย่างไร มีเนื้อหาว่าอะไร แล้วแยกแยะให้รู้ว่าประโยคเนื้อความจงลงตรงไหน เนื้อความตอนไหนมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันกับเนื้อความตอน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More