คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.๔-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 80
หน้าที่ 80 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยนี้มุ่งเน้นไปที่การใช้ภาษาไทยในการแปล โดยมีการเน้นถึงการเลือกคำและการเรียงประโยคที่ถูกต้อง เพื่อสร้างเนื้อความที่ชัดเจน การใช้นิบาตเป็นส่วนสำคัญในการเชื่อมประโยคให้มีความสละสลวยและมีความสัมพันธ์กันได้ดีคู่มือที่นำเสนอมีตัวอย่างและคำอธิบายที่ชัดเจน เพื่อช่วยนักศึกษาสามารถเข้าใจหลักการและวิธีการแปลภาษาไทยได้ดีขึ้น และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือการเรียนการสอนในระดับสูงได้ดียิ่งขึ้น

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทย
-ความสำคัญของนิบาต
-การเรียงประโยค
-หลักการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.๔-๙ นิยตรงข้าม หาคือความตอนใดไม่ส่อ่าว่าประโยคแลจะสัมพันธ์เข้า กับประธานได้เลย แยกออกเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก ก็ให้เรียงเป็นประโยคลักษณะ ดังตัวอย่าง : เมื่อเธอบรรลุพระอรหัตแล้ว พระบรมศาสดามีกิฬ สงฆแกล้อง เล็ดเที่ยวจาริกไป....... : ตสมี อรหัตตฺ ปฏตฺส , สตา ภิกฺขุสูงผรีโฐ จาริกฺจจรมานน....ฯ (๑/๒๕) ประโยคนี้ เนื้อความไม่ส่อ่าว่าประโยคแทรกจะสัมพันธ์เข้ากับ ประธานได้เลย แยกเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก จึงต้องเรียงอย่างนี้ หาก จะแต่งเป็นประโยคอเขนอกวา ตสส อรหตฺ ปฏตฺส สตา...ก็จะ กลายเป็นว่า พระศาสดาของพระภิกษุผู้นั้น ซึ่งความจริงหาเป็นเช่น นั้นไม่ นี้เป็นเพียงข้อสังเกต ซึ่งขอฝากนักศึกษาไว้พอเป็นแนวทาง พิจารณา และพอเป็นทางหาความรู้เพิ่มเติมสืบไป วิธีเรียงนิบาต นิบาตทั้งหลาย เป็นส่วนสำคัญในประโยคที่ทำหน้าที่เชื่อมประโยค ให้มีเนื้อความเกี่ยวเนื่องกัน ทำให้เนื้อความสละสลวยขึ้น ทั้งยังทำให้ เนื้อความชัดเจน แน่นอนอีกด้วย เพราะนิบาตบางอย่างสามารถเน้น ข้อความตอนนั้นๆ ได้ ก่อนอื่นขอแยกนิบาตออกเป็น ๒ พวกใหญ่ๆ คือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More