คู่มือการแปลไทยเป็นมค ป.ธ.๕-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 88
หน้าที่ 88 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้อธิบายวิธีการแปลประโยคจากภาษาไทยเป็นมค โดยใช้เทคนิคในการจัดเรียงประโยคให้ถูกต้องและมีความสมบูรณ์ ตัวอย่างเนื้อหามีการเปรียบเทียบประโยคเพื่อให้เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น เช่นการจัดวางประธานและกิริยาในประโยค เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการขาดประธานในประโยคและให้ความหมายที่ชัดเจน เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียงที่อาจส่งผลต่อความหมายในการแปล อีกทั้งยังมีตัวอย่างเพิ่มเติมในการจัดการประโยคในบริบทต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-การแปลศํพท์ไทยเป็นมค
-การจัดเรียงประโยค
-เทคนิคการแปล
-ตัวอย่างการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมค ป.ธ.๕-๙ จะเห็นได้ว่า เนื้อความก็ออกมาในรูปเดียวกันทั้งหมด แม้ ประโยคอื่นก็พึงเทียบเคียงโดยนัยนี้ ๒. ณ ที่ปฏิสมาคมคู่ ๒ ตัว ตัวรุกประสาภู เอว เป็น เนว นั่น นิยมเรียงตัวประธานที่เข้ากับกิริยาทั้งสองไว้ก่อนแล้วจึงวาง แนว คศพแรกลงไป หาไม่แล้วประโยคหลังจะออก หา ตัวประธานไม่ได้ เพราะ แนว คลุมประโยคไว้ทั้งหมดแล้ว เช่นตัวอย่าง : อมม ตยา กต สสจ แนว อจโฑเกน นสสติ น อโณทกน นสสติ ๆ (๑/๔๘) ถ้าเรียงใหม่ว่า อมม แนว ตยา กต สสจ อจโฑเกน นสสติ, น อโณทกน นสสติ ๆ ความก็จะกลายเป็นว่า ข้าวกล้าที่เธอปลูก แล้วอ่อนไม่เสียเพราะน้ำมาก ประโยคหลังเลยทำให้ดูเหมือนขาดประธาน แม้จะพอดาออกก็ตาม พึงดูประโยคต่อไปนี้เทียบเคียง : อญฺฺญ เฏตุ สขฺฺรี แนว เอกโต นิสฺสนุติ น ติภูวนติ ๆ (๑/๕๕) ส่วนตัวอย่างสุดท้ายว่า แนว พราหมณียา น มยฺย ปรปุนฺ ภวิสสติ(๕/๑) ท่านเรียงตัวประธานและกิริยาไว้ท้าย แต่ก็มีคิดเหมือน เรียงได้ขนะ จะเรียงเสียนกว่า : ปรปุนฺ แนว พราหมณียา ภวิสสติ น มยฺย ภิวสติ ฯ ดังนี้ก็ไม่ผิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More