คำศัพท์และความหมาย ๖๖๐ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 197
หน้าที่ 197 / 374

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้มีการอธิบายการใช้คำไทยในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นการเรียงประโยคที่ถูกต้อง รวมถึงบทสนทนาที่เป็นตัวอย่างการใช้คำในบริบทที่หลากหลาย นอกจากนี้ยังมีการอธิบายเกี่ยวกับความหมายของคำและการใช้ในแต่ละกรณี เช่น การใช้คำว่า 'ก็' ในประโยคตั้งคำถามและการออกเสียงในแบบต่างๆ ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจการใช้ภาษาที่ถูกต้องและเหมาะสมในสถานการณ์ต่างๆ

หัวข้อประเด็น

-การใช้คำไทยในประโยค
-ตัวอย่างการใช้คำ
-การตั้งคำถามด้วยคำไทย
-การเรียนรู้ภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำศัพท์และความหมาย ๖๖๐ (๑) ในประกาศคำถาม ที่มีจำนวนไทยว่าหรือ ไหม อยู่ด้วย และโดยมากจะเป็นประโยคเลขใน ให้เรียง ก็ ไว้ต้นประกอบ โดยไม่มีศัพท์อื่นขวางหน้า แต่ถ้าไม่เรียง ก็ ไว้ด้วย ให้อเรียงกริยาคุมพากย์ไว้ ต้นประกายเลย ก็ยากว่าที่วางไว้ต้นประกาศหน้าที่แทน ก็ ได้ เช่น ความไทย : ดูก่อนอาวุโสที่หลาย ก็ช้อนสมควรแก่พวกคุณ ละหรือ เป็น : ก็ ปณัต อาวุโส ตุมาห0069 ปฏริูป ๆ ความไทย : ดูก่อนิกษุทั้งหลาย พวกเธอไม่ไปกับพ่อค้าจังมา ดอกหรือ เป็น : ก็ กิฏขวา มหาธนวาณิชน สฤี น คมิตฺ๓ ความไทย : ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้พระภาคเจ้าทรงเห็น ท้าวสักกะออมเทพหรือหนอ เป็น : ก็ ภููโฒ โข ฑนต์ ภนุต สกฺโก เทวานมินโน ฯ (๒) ในประกาศคำถาม หากมีจำนวนไทยว่า อะไร อยู่ ให้ในรูปทุทิวิตติ แล้วเรียงไว้หน้ากริยาที่สนัพันธ์เข้าด้วย ก็ใน ที่มีฐานะเป็นอุตตมฺม เช่น ความไทย : ที่นั่น นายช่างแก้วนิณตะนั่น แล้วเขียนออกไปด้วย พูดว่า มิงจะทำอะไร ด้วยกำลังความโกรธที่เกิดขึ้นในพระเคราะห์ (สนามหลวง ๖/๒๒) เป็น : อต น มณฺทิโก เถเร อุปปนฺโถคคณ ตฺ ก็ ฆรสิติ ปาศทน ปหริฏฺ๗ (๕/๕๔)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More