คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ร.๔-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 302
หน้าที่ 302 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ร.๔-๙ นี้เน้นแนวทางการแปลภาษาไทย ด้วยการชี้แนะตัวอย่างที่ชัดเจนในการเปรียบเทียบ โดยเฉพาะในประเด็นการใช้ประโยคที่มีความหมายเดียวกันจากแหล่งต่าง ๆ และวิธีการวิเคราะห์ โครงสร้างประโยคในภาษาไทยที่มีความซับซ้อน นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงพยติเรากนกรรมประโยคที่มีการใช้คำที่ขัดแย้งกัน เพื่อให้เข้าใจลักษณะของการใช้ประเภทต่าง ๆ ในการสื่อสารอย่างถูกต้อง อาทิเช่น การใช้คำว่า แต่, ถึง, เป็นต้น เป็นตัวย่อมที่ใช้ในการเชื่อมประโยคต่าง ๆ เพื่อสื่อความหมายที่ถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

- การแปลภาษาไทย
- โครงสร้างประโยค
- การใช้พยติเรากนกรรม
- ตัวอย่างการเปรียบเทียบ
- ลักษณะของประโยคขัดแย้ง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๖๙ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ร.๔-๙ - นักกีฬาและนักมวยต้องช้อมน้ำหนักก่อนแข่งขันเสมอ - หากท่านไม่หนักใจ ผมจะขออยู่ในนี้สักสองสามวัน เพื่อความชัดเจนยิ่งขึ้น พึงสังเกตดูตัวอย่างเปรียบเทียบดังต่อไปนี้ ไทย : ท่านเป็นพระภิญู ผมก็เป็นพระภิญูเหมือนกัน มคร : ตุ๋ว ภิญู, อหงิ ภิญูเยอะ ๆ ไทย : ก็เมื่อตาริสุ่งขึ้น ความที่หนาย ดวงอาทิตย์ขึ้น และการคลอดลูกของนาง ได้ในขณะเดียวกันนี้เดียว มคร : วิภามนาย ปน รตฺตียา วาลาหกิจโม จ อรุณดุมณฺฑุ ตสสา คพฺภวาสานฺฑุ เอกกฺุขนฺเยว อโลสิ ฯ ข้อสังเกต ประโยคมาตรประกอบหลังนี้ดูเหมือนกับเป็นอรรถประโยค เพราะมีข้อความตอนเดี่ยวหรือมีวิริยาคุมพายตัวเดียว แต่ความจริงแล้วมีเนื้อความเป็น ๓ ประโยครวมกัน แทท่านแต่งกิริยาไว้เพียงตัวเดียวจะไว้ในฐานเข้าใจ ความตอนนี้งว่าเป็น ๓ ประโยคโดยมี จ คํพฺ ทำหน้าที่คุมประโยค และกริยา ที่ใช้เป็นเอกพจน์ดังนั้น จึงถือว่าประโยคนี้เข้าลักษณะอ้วนยานกรรมประโยคได้ ๒. พยติเรากนกรรมประโยค คือ อเนกกรรมประโยคที่มีเนื้อความตรงข้ามกัน ขัดแย้งกัน มีสันฐานว่า แต่ ถึงก็ กว่า ก็ เป็นตัวย่อมความ ส่วนในภาษาไมตรีใช้บาด คือ ปน กิญฺจาปฺ ปน เป็นต้น เป็นตัวย่อมประโยค
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More