กฎเกณฑ์การเรียงประโยค คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 57
หน้าที่ 57 / 374

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้นำเสนอการเรียงประโยคในภาษาไทย ซึ่งมีหลักการที่สำคัญเช่น การขยายบทไว้หน้าบทนั้น การจัดเรียงแบบอวตุถุมม และการวางกาลใหญ่ให้ถูกต้องตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีการจัดเรียงอาลปนะที่มีหลักการเฉพาะ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจการเรียงคำและประโยคได้ดีขึ้น สำหรับผู้ที่สนใจในการเรียนรู้เพิ่มเติมสามารถศึกษาจากที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-กฎการเรียงประโยค
-การขยายบท
-กาลใหญ่ในประโยค
-อาลปนะในภาษาไทย
-วิธีการเรียงคำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กฎเกณฑ์การเรียงประโยค 51 ลดหลั่นลงมา เหมือนถูกคุมไว้ ส่วนกริยา ที่ตนขยายให้เรียงไว้กลาง เช่น : เอก สมย ภคว สาวตุถิย วิหรติ เซวาน อนาถินุภิกสู สาราม ฯ : เตน สมเยน พุทโธ ภคว วรณชาย วิหรติ นเหรูปจินทุนมลา ፧ สรุปวิธีเรียงสัตว์มิวิภาคติ 1) ขยายบทใด ให้เรียงไว้หน้าบทนั้น 2) มาร่วมกับบทอวตุถุมม เรียงไว้หน้าอวตุถุมม 3) กาสัตติมีบ่งกาลใหญ่ครอบทั้งประโยค และที่มาจาก อัพยศศัพท์ เช่น อต กฏ ตา อิทานี เป็นต้น ให้เรียงไว้ต้นประโยค 4) กาลใหญ่ ให้เรียงไว้หน้ากาลย่อยตามลำดับ 5) วิลายาธาระ บ่งที่อยู่แคบๆ วางไว้หน้าบทที่ตนขยาย บ่งที่อยู่กว้างๆ คละทับประโยค วางไว้ต้นประโยค วิธีเรียงอาลปนะ บทอาลนะ มีหลักแน่นอนอยู่ คือ ต้องเรียงไว้ในโโยเลขในเท่านั้น ห้ามเรียงไว้ในเลขในเด็ดขาด แต่วิธีการเรียงในประโยคเลขในนั้นไม่แน่นอน อาจเรียงไว้เป็นที่ 1 หรือที่ 2 ที่ 3 ในประโยค หรือเรียงไว้ท้ายประโยคก็ได้ ทั้งนี้สุดแต่เนื้อความในประโยคหรือศัพท์ประกอบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More