คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมค ป.ธ.๕-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 100
หน้าที่ 100 / 374

สรุปเนื้อหา

หนังสือเล่มนี้เป็นคู่มือสำหรับการศึกษาและแปลข้อความจากภาษาไทยเป็นมค เริ่มด้วยหลักการใช้วินาที่สัมพันธ์กับนาม รวมถึงการแยกประเภทข้อความและรูปแบบการแปลที่ต้องใช้เฉพาะในกรณีพิเศษ โดยมีตัวอย่างยกมาให้เห็นจนชัดเจน ทั้งนี้เพื่อช่วยให้นักเรียนระดับ ป.ธ. ๕-๙ ได้เข้าใจและฝึกฝนการแปลได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยการแบ่งปันความรู้ในด้านการแปลและการตีความหมายในภาษาที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทยเป็นมค
-การใช้วินาในภาษามค
-อญฺญตรและการแปลพิเศษ
-หลักการแปลและตัวอย่าง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมค ป.ธ.๕-๙ วินา ศพทนี้ นิยมเรียไว้หน้านามที่สัมพันธ์เข้ากับตน และนามนั้นจะประกอบเป็นทิฏฐาวิตติ (เว้นซึ่ง…) หรือเป็นทิฏฐาวิตติ (เว้นด้วย…) หรือเป็นปัญจมี วิวัฒติ (เว้นจาก…) อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ความไทย : เว้นพระสัคธรรมเสีย ย่อมไม่มีพึ่งใดๆอื่นในโลก เป็น : วิณา สกุรุมามา นาญโณ โก้ นาโว โโลก วิชชาติ ฯ ความไทย : เนื้ออื่นจากเนื้อที่เก็บไว้เพื่อสหายของท่านไม่มี เขาเว้นเนื้อเสีย ก็จะไม่รับประทาน (อาหาร) เป็น : สหายกสุส เต จิเปรมสโต อญฺญ นตฺติ ฯ โล ฯ วิณา มัชฌน น ภูวนฺติ ฯ (๗/๒) จะแต่งเป็นว่า วิณา สกุรุมา วิณา สกุรมนฺ วิณา มัชฌ, วิณา มัชฌเมนฺ วิณา มัส, วิณา มัสา ก็ได้ (๒) อญฺญตร ศพทฺ ใช้ในกรณีพิเศษ เว้นเฉพาะเรื่อง เฉพาะ กิจ เฉพาะอย่าง เช่น เว้นจากฝัน เว้นจากข้อที่ควรเว้น นานที่เข้าด้วยนิยมประกอบ เป็นปัจจจามิวิตติ (เว้นจาก… นอกจาก…) ที่เป็นติยาวิวิวติติ (เว้นจาก… หักวิตติ) ก็มีบ้าง แต่ไม่นิยม แล้ววางไว้หลัง อญฺญตร เช่นกัน เช่น ความไทย : ความตรัสรู้จักของชาวโลก จะไม่ได้ นอกจากความเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้า เป็น : อญฺญตรุ พุทธุปทฺตา โลกสุส สจาลิสโม นุตติ ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More