ข้อความต้นฉบับในหน้า
คู่มือนิชาแปลไทยเป็นครส ป.๕-๙
- อยู่ ขนโญ่ รูปขุนโณติ วุฒิจิ ๆ หรือ อยู่ ขนโญ่ วุฒิจิ รูปขุนโติ ๆ
- ยสมา อยู่ อิเมฐ เถราภรณฐเมธี สมุนาโต โตติ, ตสมา เถโรติ วุฒิจิ ๆ
- ต่ำ ภควา วุฒิจิ อริยธนูติ ๆ หรือ ต่ำ ภควา อริยธนูติ วุฒิจิ ๆ
ประโยค หิ นาม
"ประโยค หิ นาม" หรือที่โบราณเรียกชื่อเต็มว่า "ประโยค วิสันติ หิ นาม" ถือว่าเป็นประโยคผิดพิเศษในภาษามค );
เพราะมี ลักษณะการปรุงประโยคผิดไปจากประโยคทั่วไป กล่าวคือ ประโยคที่มี หิ นาม วางไว้ต้นประโยค นิยมปรุงกิริยา คุมพากย์ในประโยคนั้นเป็น รูปวิสันติวิกลติ แม้ว่าเนื้อความจะไม่บ่งบอกว่าเป็นอนาคต แต่เวลาแปลจะต้องแปลเป็นอดีต คือแปลเป็นอัชฌาตนีววิกลติ
ประโยค หิ นาม จึงถือว่าเป็นประโยคผิดพิเศษในภาษามค ที่ น่าจะต้องศึกษาให้รู้ เมื่อเห็นรูปประโยคแบบนี้เข้าจะได้แปลได้ถูกและได้ใจความตามที่ต้องการ ประโยค หิ นาม นี้ มีที่มาในพระไตรปิฎก โดยเฉพาะในพระวินัยปิฎก แม่นปกรณ์อื่น ๆ ก็ใช้ทั่วไป ตัวอย่างเช่น
: กฉิ หิ นาม อายุม า ธีโย กุมารปุตโต ธัญโณ ทารนู อภิณุ อาวิสูติ ๆ (วิ.มทร. ๑/๘๘/๒)