การเรียงประโยคอธิบายความ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 293
หน้าที่ 293 / 374

สรุปเนื้อหา

การเรียงประโยคในภาษาบาลีมีความหลากหลายทั้งในลักษณะการเขียนและแนวทางที่ผู้แต่งแต่ละคนใช้อย่างเฉพาะตัว ตั้งแต่สมัยที่เมืองเชียงใหม่รุ่งเรือง โดยมีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยที่มีผลและต้องคำนึงถึงความนิยมในภาษา อาจจะมีแนวทางที่แตกต่างกัน และบรรดานักศึกษาควรจะสังเกตและเปรียบเทียบเพื่อเพิ่มพูนปัญญาและความเข้าใจ

หัวข้อประเด็น

-การเรียงประโยค
-ภาษาบาลี
-เทคนิคการเขียน
-การศึกษาและวรรณกรรม
-แนวทางและความนิยมทางภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การเรียงประโยคอธิบายความ ๒๗๗ เทสนททิทิ จุลส คูณี้ ปสุนานิค คีหี สนติกา อุปปนนา ปัจฉยา ปริสุทุปรปาทา นาม, ปัจจบทความจริงทิทิ ปณ อติปริสสุทุปปาทาเยว ชี้แจง : ประโยคหลังจะคำว่ามา อุปปนนา ปัจฉยา ไว้ ในการประกอบรูปประโยคด้านเกี่ยวด้วยการอธิบายขยายความนั้น มีนัยวิจิตรพิสดารหลายหลากนก ทั้งลิลาในปรกติทั้งหลาย ก็แตกต่างกันออกไป ทั้งนี้ เพราะผู้แต่งปรนนันๆ ต่างก็มีลิลาและแนววิธีการเขียนเป็นแบบของตนโดยเฉพาะ ทั้งแต่งในวรรณะในสมัยย่างกันเป็นร้อยๆ ปี ความนิยมทางภาษาออมเปลี่ยนแปลงผันแปรไปตามยุคตามสมัย อันเป็นกฎธรรมดาของภาษาที่ทั่วไป ถึงกระนั้นก็ตาม ภาษาบาลีที่เราใช้เรียนใช้สอนกันส่วนมากเป็นไปตามแนวของลังก้าที่มายุคหลัง เช่น ในสมัยเมืองเชียงใหม่รุ่งเรืองก็มีหนังสือมงคลทิพย์นี้ เป็นหลักยืน แม้จะมีแนวแปลกไปบ้าง ก็พอศึกษาแนวทางของท่านได้ แนวทางของแต่ละคนที่แต่งปรนนันหลายมีปรากฏในปรนนันนั้นๆ แล้ว ขอนักศึกษาได้สังเกตจะจำ และนำมาเปรียบเทียบกันดูเกิดปัญญา และความรู้ความเข้าใจได้ไม่น้อยเลย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More