ไวยากรณ์และสัมพันธฺ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 143
หน้าที่ 143 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการใช้ไวยากรณ์และสัมพันธฺในประโยคภาษาไทย โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการเลือกใช้คำในประโยค รวมถึงตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของคำในประโยคต่างๆ เพื่อเน้นสิ่งที่ถูกทำและผู้ทำ การเข้าใจในเนื้อหานี้ช่วยให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากขึ้น หากต้องการศึกษาเพิ่มเติมสามารถติดตามได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-ไวยากรณ์พื้นฐาน
-การใช้สัมพันธฺ
-ตัวอย่างประโยค
-ความหมายและการเน้น
-การสื่อสารในภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธฺ ๑๒๗ ๑) ตาอ์ สุตู ธมุมเทลนี สุขี ๆ ๒) สุตู อิ สุนหฺสุขมึ ติลุกฺขํ เขป๚ อาทิชมฺปูริโยสนกลุยานฺธมึ เทเสสึ ๆ ๓) อิกานาเก คีตสุตู สุขี ๆ ก็ถูกต้องใช้ได้เหมือนกัน แต่หย่อนอรรถรส เพราะทั้งสามประโยคนี้กลับเป็นการยก หรือเน้นตัวก็ตาไปเสีย ขอให้ดูปรโยคต่อไปนี้เพิ่มเติม เพื่อความเข้าใจดีขึ้น : เอกมูเม สุข ๆ : เตน วุตฺฑํ : อมฑตา มา ญา วิญูสุสุ ลํ นิตติ ๆ (๙/๑๗๑) : อณ ที ทวิหติ สุโข น สฺโย น สํโยติ ๆ (๒/๓๐) อันอิน ยังมีปรโยคที่เน้นสิ่งที่ถูกทำเหมือนกัน เนือความก็เป็นรูปมัวจากอยู่ แตกกลับแตงเป็นปรโยคกตัธตวาไป ได้แก่ ประโยคที่เราเรียกว่า “กัต. นอก กม. ใบ” นันเอง ที่เป็นดังนี้เพราะต้องการเน้นอีกต่อว่า สิ่งที่เกิดขึ้นหรือสิ่งที่ถูกทำขั้นยังไม่ได้สุขหายไป ยังคงอยู่ เช่น : ราชา นคร reveri มานิโต โหติ ๆ : อิม สิกาขปํ ภควตา ภิกขุฯ ปญฺญุตโต โหติ ติ. ภาวจาก (สัพท์กล่าวความมีความเป็น) ใช้ในกรณีที่ข้อความนั้นได้เน้นผู้ทำ มีเน้นสิ่งที่ถูกทำ แต่เน้นกิริยาอาการของผู้ทำ (อนุกิจตกตตา) ว่าเป็นอะไร มีอย่างไร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More