การใช้คำศัพท์ในภาษาบาลีและบทประยุกต์ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 203
หน้าที่ 203 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการใช้คำศัพท์ในภาษาบาลี โดยเน้นการเรียงลำดับคำจากตัวอย่างในภาษาไทย รวมถึงการใช้คำว่า 'อล่' ในประโยค พร้อมตัวอย่างเพื่อความเข้าใจที่ชัดเจน มีการอธิบายรูปแบบประโยคที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดบทประธานและวิธีการใช้คำศัพท์เพื่อความถูกต้องตามหลักภาษาศาสตร์. สำหรับผู้สนใจเรียนรู้ลึกซึ้งเกี่ยวกับศาสตร์ของภาษาบาลี สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-การใช้คำในภาษาบาลี
-โครงสร้างบทประโยค
-ตัวอย่างการใช้คำศัพท์
-บทประธานและการเรียงลำดับคำ
-การเข้าถึงความเข้าใจในภาษาศาสตร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำศัพท์และความหมาย ๑๖๗ ไว้อำไป และเรียงสิ่งที่ถูกปฏิเสธ (กรณี ไว้สุดประโยค หางระบุอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็เรียงไว้หลัง อล์ ตามปกติ เช่น ความไทย : ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระองค์ให้พระนางบวชเถิด อย่าปรึกษาพานเลย เป็น : ฑนเด ฆงพาเช น, อล่ ปรีติพานน (๓/๒๒) ความไทย : สำหรับพวกเรา พอลด้วยคนมีประมาณเท่านี้ เป็น : อล่ อุทกำ เอุดเกิช (๓/๕๘) (๓) ในประโยคที่มีจำนวนว่า “ควรจะ, พอที่จะ” หรือ “ควรเพื่อ” หากใช้ อล่ ศัพท์ จะต้องกำหนดว่า มีบทประธานหรือไม่ ถ้ามีบทประธานอยู่ด้วยนิยมเรียงบทประธานไว้หน้า อล่ และ เรียกว่า เพื่อ ไว้หลัง อล่ โดยคำว่า เพื่อ นั้น หากเป็นก็ริยาอาการ นิยมมีรูปเป็นจตุคีวิภัติ เช่น ความไทย : ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตระกูลที่ประกอบด้วยองค์ ๙ ภิญฺญาไม่เข้าไป ควรที่จะเข้าไปและเข้าไปแล้ว ควรจะนั่งใกล้ เป็น : นวที ภิกขวา องค์คิ ฯ สนุนาดติ ฯ กุล อนุคคุณทวา ฌ อล่ อุปนิวติ ฯ ฯ (ม/๖) (ในประโยคนี้ อล่ เป็นกิริยาคุมพฤกษณ์ ก็มจาก) ความไทย : ดูก่อนชาวกาลามะควรที่จะท่านทั้งหลายจะสงสัย ควรที่จะเคลือบแคล่ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More