คู่มือการแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 150
หน้าที่ 150 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔ แนะนำเกี่ยวกับการเรียงคำประโยคที่ควรทำอย่างเคร่งครัด เช่น การพิสูจน์ความหมายที่เชื่อมโยงกันระหว่างประโยคและการติดตามประโยคที่ใส่คำสำคัญ เช่น ประธานและกริยาให้ถูกต้อง เพื่อหลีกเลี่ยงการแปลที่ผิดและเกิดความสับสนในความหมาย โดยเน้นหลักการเรียงคำที่ชัดเจนและการใช้อธิบายที่สื่อความหมายได้ดี

หัวข้อประเด็น

-การเรียงคำในประโยค
-การแปลภาษาไทย
-หลักการสัมพันธร์
-ปัญหาที่พบบ่อยในการแปล
-วิธีการตรวจสอบประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔ เรียงคำผิดที่ คือแทนที่จะเรียงไว้หน้าบทที่ตนขยาย กลับไปเรียงไว้หลังหรือเรียงไว้หน้าบทอื่น ซึ่งส่งให้เห็นว่ามีความหมายเข้า กับบทนั้นก็ได้ เช่น : พระเถ นั้น พากิจกุ้งทั้งหลายไปที่นั่น แล้วคิดว่า...... : โส เธอ โก๋ ภิกขุ อาภาย ตฤต คุนตวจ จินตลีษ ฯเปฯ (ถูก) โส เธอ ตฤต ภิกขุ อาภาย คุนตวจ จินตลีษ ฯผิด (ผิด) ดังนี้ก็ถือ ใช้ประธานกับกิริยาดังกล่าวกัน เช่น อุ้ม อาราม คมิสสติ เป็นต้นดีด ทั้งหมดนี้ เรียกว่า ผิดสัมพันธร์ ใช้จากผิดดีด สับประโยคเลขนอก เลขในกัน คือ นำความใน เลขในมาแต่งเป็นเลขนอก นำความในเลขนอกไปใส่บทกันกับเลขในก็ผิด ผิดคำหรือผิดสัมพันธร์มากแห่งในประโยคเดียวกัน จนไม่เป็นรูปร่าง จนจับใจความไม่ได้ดีด ดังนี้ เรียกว่า ผิดประโยค เพราะฉะนั้น ในเรื่องสัมพันธร์ จึงมีข้อที่ควรจำดังนี้ (๑) วางคำศัพท์ทุกคำในประโยคให้ถูกตำแหน่งตามหลักการเรียง อย่างเคร่งครัด เมื่อวางคำศัพท์เข้าในประโยคแล้ว ทดลองเปล และสัมพันธร์ตามรูปที่วางไว้ในดู อย่าสัมพันธร์ซ้ำโดนไปโดนมา (๒) ทุกประโยคต้องมีคำศัพท์ที่เป็นประธาน หรือเป็นกริยาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่างวางไว้ให้ปรากฏ เพื่อความสะดวกในการแปล จะวางไว้เลยไม่ได้ ถือว่าผิด เพราะผู้แปลไม่อาจหาตัวประธานได้ หรือกิริยาที่นงตัวประธานไม่ได้ เช่น อากโถ ปูพุฒิ ฯดังนี้ ต้อง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More