คำศัพท์และความหมาย ๑๒๗๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 195
หน้าที่ 195 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการใช้คำศัพท์ในการสื่อสาร โดยเฉพาะการประกอบศัพท์ และการแก้ไขการจัดเรียงคำที่อาจทำให้เกิดความสับสน นักวิชาการนำเสนอวิธีการที่เห็นชัดเจนในการแปลคำต่าง ๆ โดยเน้นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงการประกอบคำ เช่น ความไทยของคำว่า ดิฺฎา ที่ประกอบว่า จีติ และการประกอบศัพท์ที่ผิดหลักอื่น ๆ เพื่อให้เข้าใจได้ดีขึ้น การจัดเรียงคำให้เหมาะสมจะช่วยให้การสื่อสารเป็นไปอย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้น แต่หากมีการจัดเรียงผิดจะก่อให้เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน.

หัวข้อประเด็น

-การประกอบคำ
-ความหมายของคำ
-ตัวอย่างการใช้ศัพท์
-การสื่อสารที่ถูกต้อง
-การวิเคราะห์ศัพท์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำศัพท์และความหมาย ๑๒๗๙ เดี๋ยวก็นก็ตาม แต่ว่ามาสังกิยาวเกินไป ทั่งความก็ไม่ชัดเจน คือไม่รู้ว่ามืออีกข้าง เท้าข้าง ตาข้าง ที่เป็นอย่างนั้น ถ้าแยกศัพท์ออกตามแบบ จะทำให้มองเห็นชัดเจนกว่า : เอก เอกสุข มิตตูทุนภูโลโจโร ปุตตาการเขตตถู- โคมิลาหิติสูง อุบชฺชนมุต (๒/๑๕๕) ศัพท์สมาในประโยคนี้ประกอบด้วยศัพท์ ๓ หมวด คือ คน สัตว์ ที่ดิน แต่ท่านนำมาสมาเพราะความจำเป็นเป็นบังคับ คือศัพท์นี้เป็นศัพท์ ที่ต้องแปลถอด ถ้าหากเรียงไว้ ๓ ตอน จะยังแปลลำบากขึ้นอีก ทั้งไม่มี มีใช้ด้วย ท่านจึงเรียงอย่างนี้ นอกจากการประกอบศัพท์ผิดโดยวิธีดังกล่าวแล้ว ยังมีการประกอบศัพท์ผิดหลักไว้การอื่น เช่น ความไทยว่า ซึ่งดิฺฎา ประกอบว่า จีติ (จีตฺ) ความไทยว่า ซึ่งบิดา ประกอบว่า ปีติ (ปิตฺ) ความไทยว่า ซึ่งมรรคา ประกอบว่า มาติ (มาตฺ) ความไทยว่า ซึ่งตน ประกอบว่า อุตต (อตตานฺ) ความไทยว่า ด้วยใจ ประกอบว่า มเนน (มันสนา) ความไทยว่า แก่พี่ชาย ประกอบว่า ภาตุลสฺส (ภาตุ) ความไทยว่า ซึ่งพระราชา ประกอบว่า ราช (ราชนฺ) ความไทยว่า ซึ่งพระพรหม ประกอบว่า พรหม (พรหมานฺ) ฯลฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More