คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.๓-๔ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 252
หน้าที่ 252 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.๓-๔ นี้เน้นการสอนเกี่ยวกับการแปลและวิธีการขยายประโยคในภาษาไทย โดยนักเรียนจะเรียนรู้เกี่ยวกับการแยกประโยคและสร้างประโยคใหม่ที่มีสัญญลักษณ์กริยาครบถ้วน เพื่อให้เข้าใจเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น ตัวอย่างการขยายประโยคเช่น "นายแดงกำลังป่วยหน้าได้รับการรักษาอย่างดี" ซึ่งสามารถแยกเป็นสองประโยคได้ เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจที่ลึกซึ้งมากขึ้นในการใช้ภาษาไทยในระดับชั้น ป.๓-๔

หัวข้อประเด็น

- การแปลประโยคไทย
- การขยายประโยค
- การล้มประโยค
- ตัวอย่างการแปล
- การเรียนการสอนภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๒๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.๓-๔ เป็น = อิฐฉิมามันต์ กโรรุต ษ ความไทย : เธอจงกล่าวคําที่เรากล่าว เดิม = ยมฑู วาทามิ , ต มิ ฑเฑ ษ เป็น = เมย า วจลามํ วเทิ ษ ษ การลําประโยค โดยวิธีขยายประโยค เนื้อความไทยในบางประโยคอาจขยายเป็น ๒ ประโยค ในภาษา มครได้ โดยวิธีแยกตอนใดตอนหนึ่งออกมาตั้งประโยคใหม่ มีบทประธาน บทกิริยาครบถ้วน เป็นประโยคโดยสมบูรณ์ การำเช่นนี้ เรียกว่า ล้มประโยคโดยวิธีขยายประโยค ซึ่งได้แก่การเพิ่มประโยค ย ต เข้ามานั้นเอง เนื้อความที่อาจขยายประโยคได้ ได้แก่ เนื้อความของบทที่มีบทขยายอยู่ เช่น ขยายประธาน ขยายกริยา ขยายกรรม เป็นต้น บทขยายเหล่านี้อาจนำมาสร้างเป็นประโยคใหม่ซ้อนขึ้นมา โดยวิธีเพิ่ม ย ไว้ตอนประโยค และเพิ่ม ต ไว้ประโยคท้ายเท่านั้น ส่วนจะมีรู ย ต เป็นอย่างไรก็ได้นั้น ก็แล้วแต่เนื้อความในตอนนั้นจะบ่ง ขอให้ดูตัวอย่างจากประโยคภาษาไทยก่อน เช่น ประโยคว่า : นายแดงกำลังป่วยหน้าได้รับการรักษาอย่างดี อาจแยกเป็น ๒ ประโยคได้ว่า (๑) นายแดงกำลังป่วยหนัก (๒) นายแดงได้รับการรักษาอย่างดี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More