หลักการแต่งไทยเป็นมรรค ป.ร.๙ ๒๙๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 311
หน้าที่ 311 / 374

สรุปเนื้อหา

หลักการแต่งไทยเป็นมรรคเน้นความสำคัญของศัพท์ ธรรมะ และความสละสลวยในการใช้ภาษาไทย การมีความรู้ทั้งสามส่วนจะช่วยสร้างประโยคที่ถูกต้องและงดงาม การขาดหนึ่งในสามเรื่องนี้อาจทำให้การสื่อสารคลาดเคลื่อนไปทำให้ศิลปะการสื่อสารในภาษาไทยไม่สมบูรณ์ ต้องมีความรู้เรื่องเหล่านี้ในการสร้างสรรค์ข้อความที่มีความหมายและอรรถรส ทางที่ดีให้ผสมผสานกันอย่างลงตัว

หัวข้อประเด็น

-ศัพท์และความหมาย
-ธรรมะและความเข้าใจ
-อัลังการในการสื่อสาร
-การแต่งประโยคให้สวยงาม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักการแต่งไทยเป็นมรรค ป.ร.๙ ๒๙๙ ๓. เรื่องศัพท์ ความหมายของศัพท์ วิธีใช้ศัพท์ต่างๆ ในประโยค ๔. เรื่องธรรมะ ต้องสามารถจำธรรมะได้มากทั้งข้อและความหมาย ๕. เรื่องอั ลังการ คือวิธีการปรุงประโยคภาษาให้สละสลวยกลมกล่อมได้อรรถรส เรื่องเหล่านี้มีความสำคัญ และมีความสัมพันธ์กันตลอดสาย เพียงอยางใดอย่างหนึ่งหรือขาดเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็อาจทำให้เสียได้ เช่น คำศัพท์ที่ได้แม่นยำ แต่ไม่เข้าใจภาษาในประโยค ก็อาจวางศัพท์ผิดหลัก ทำให้เสียความไป หรืออู่ย่างอื่นทั้งหมด แต่ขาดความรู้เรื่องอั ลังการ ประโยคภาษาเมดก็จะรงั้รังช้อนไข ขาดความสละสลวย ไม่กระทัดรัด หรือขาดอรรถรสทางภาษไทย เป็นต้น ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีความรู้เรื่องต่างๆ เหล่านี้ให้พอๆ กัน เพื่อเน้นนำใช้ผสมผสานกันไปจนตลอดสายในเวลาแต่งไทยเป็นมรรค หลักการแต่งไทยเป็นมรรค การแต่งไทยเป็นมรรค คือกระบวนวิธีการถ่ายทอด เนื้อความจากภาษาไทยไปเป็นภาษา มรรคให้ได้ความตรงกันถูกต้อง และสมบูรณ์ กระบวนการนี้มีความหลากหลายในรูปแบบ เหมือนกับการแปลไทยเป็นมรรค ข้อควรทำความเข้าใจเบื้องต้นในเรื่องนี้ มีหลายประการด้วยกัน คือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More