ไวยากรณ์ไทยและการใช้ลิงค์ในภาษา คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 113
หน้าที่ 113 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการใช้ไวยากรณ์และลิงค์ในภาษาไทย โดยเน้นการใช้คำและลิงค์ที่เหมาะสม เช่น การเลือกใช้ลิงค์ที่ใช้บ่อย และลักษณะของการต่อท้ายคำศัพท์ การควรคำนึงถึงวิสามัญของคำที่เปลี่ยนแปลงตามเจ้าของเพื่อคงความหมายที่ถูกต้องเช่น สตภี อนุปี นาม มูลาณิ นิคนโม ต นิสุสาย... ข้อมูลเหล่านี้มีความสำคัญต่อการศึกษาภาษาไทยโดยเฉพาะในการเขียนและการพูดเพื่อความถูกต้องและชัดเจนในการสื่อสาร

หัวข้อประเด็น

-ไวยากรณ์ไทย
-การใช้ลิงค์
-คำศัพท์ในภาษาไทย
-การเลือกใช้คำ
-ความหมายและการตีความ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ ๗๙ อนาคามิ ต้องเป็น อนาคามิไโย ประโยคที่ ๙ สุขี ต้องเป็น สุขินี นอกจากนี้แล้วยังมีข้อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องการใช้ลิงค์อคือ (๓) คำพที่ใช้เป็น ๒ ลิงค์ได้ ให้ถือเอาลิงค์ที่ท่านใช้มากใน ปกรณ์ทั้งหลายเป็นเกณฑ์ เช่น ล้างอโร-ล้างอุฆร ท่านใช้ ล้างอโร มากกว่า อาคาร-อาคาร ท่านใช้ อาคาร มากกว่า ทิวโล-ทิวลัส ท่านใช้ ทิวโล มากกว่า เป็นต้น (๒) การใช้คำหลังลำนี้ คือ ก กา รูป ชาด มาต่อท้ายคำศัพท์ มิได้ยืนใช้กับทุกคำ และกำหนดว่าเป็นลิงค์อะไรแน่นอนไม่ได้ เพียง พอสังเกตได้ว่า : ถ้าใช้ ก ต่อท้าย มักเป็นลิงค์ตามคำศัพท์เดิม เช่น หลายโก ยานก็ การโก โคบาลโก : ถ้าใช้ ค ต ต่อท้าย มักเป็น ปุ. เช่น ติรฉานโต และ นุ. เช่น ทิวจิตต์ : ถ้าใช้ รูป ต่อท้าย มักเป็น นุ. เช่น โคูปี อิดิรูปี : ถ้าใช้ ชาด ต่อท้าย มักเป็น นุ. เช่น ธมมชาติ สทุชาติ (๓) วิสามัญสเสสนะ คือ คำทวิเสสนะที่เป็นสาธารณาม เดิม เป็นลิงคออะไร ให้คงลิงค์ไว้ไม่ต้องเปลี่ยนไปตามเจ้าของ มีมติ คล้ายกับวิกิตติตาม ดังกล่าวมาแล้วข้างต้น เช่น : สตภี อนุปี นาม มูลาณิ นิคนโม ต นิสุสาย.....
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More