ข้อความต้นฉบับในหน้า
คู่มือวิชาแปลไทยเป็นคง ป.ร. ๙๙
รวมความว่า จะแต่งเป็นรูปประโยคจากใจ ให้อ่านความเข้าใจชัดเจนก่อนว่า ประโยคนั้นเขาเน้นประธาน หรือเน้นกรรม เป็นต้น แล้วแต่งประโยคเป็นจากนั้นๆ ดังกล่าวมาโดยยึดแบบเป็นหลักเกณฑ์ และแต่งเป็นจากใจ ต้องประกอบประธาน กิริยา กรรม เป็นต้น ให้ถูกต้องตามวิธีไวยากรณ์ด้วย ทั้งนี้ เพื่อจะไม่ทำให้เสียความหมายและเสียคะแนดังคกล่าวแล้วข้างต้น
เรื่องปัจจัย
ปัจจัยในอายัดเป็นเครื่องบ่งบอกจากได้ ส่วนปัจจัยในกิจก์ เป็นเครื่องบ่งบอกกาลได้ เพราะฉะนั้น การใช้ปัจจัยจึงต้องพิถีพิถันพอสมควร โดยเฉพาะปัจจัยในอายขาตซึ่งใช้ประกอบกับวากา ถ้า นักศึกษาแต่งภาษาไม่เข้าใจใช้ปัจจัย หรือใช้บกัน โดยนำปัจจัยในกิตุตวาจาไปใช้ในกัมวาจา เป็นต้น ก็จะทำให้ผิดจาก ผิดความ และผิดประกอบในที่สุด
ดังนั้น นักศึกษาพึงทบทวนปัจจัยประจำในแต่ละวากวาให้แม่นยำขึ้นใจ และใช้ประกอบให้ถูกต้อง คลองแก่ล่ก็จะเป็นอุปกรณ์มาก
ส่วนปัจจัยในกิติก์ซึ่งบ่งบอกกาลได้นั้น แม้บางอย่างจะไม่ถึงกับทำให้ผิดรุนแรง แต่ก็อาจถูกปรับเป็นผิดเหมือนกัน ทำให้เสียคะแนนโดยไม่จำเป็น อีก วิธีใช้นั้น ได้กล่าวไว้แล้วในเรื่องกาล
ในเรื่องปัจจัยนี้ พอมีข้อสังเกตและข้อกำหนดหมายไว้ พอสรุปได้ดังนี้