คู่มือวิชาเปล่าไทยเป็นครู ป.ธ.๕-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 344
หน้าที่ 344 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาเปล่าไทยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้ในการปรุงประโยคในภาษาไทยให้ถูกต้องตามหลักความนิยมและสวยงาม เนื้อหาสำคัญได้แก่การใช้คำว่า 'ถ้า' ในบริบทต่าง ๆ และการสร้างประโยค JE สลาย ยติ เพื่อให้เข้าใจถึงเงื่อนไขของเนื้อความที่มีความสัมพันธ์กัน เรียนรู้วิธีการเขียนและใช้ในสำนวนไทยที่มีความหมายเพื่อความก้าวหน้าในศิลปะการเรียนการสอนภาษาไทย นักเรียนสามารถรีวิวและศึกษาเพื่อความเข้าใจที่ลึกซึ้งขึ้นเกี่ยวกับการใช้ภาษานี้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น อ่านเพิ่มเติมที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การปรุงประโยค
-หลักการใช้คำว่า 'ถ้า'
-ความสำคัญของการจัดเรียงประโยค
-การใช้ภาษาไทยอย่างมีศิลปะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาเปล่าไทยเป็นครู ป.ธ.๕-๙ ทราบวิธีการปรุงประโยคแบบนี้ตามสมควร เพื่อจะได้สามารถปรุง ประโยคแบบนี้ได้ดี สะสวย ถูกความนิยมทางภาษา เพราะหากปรุง ไม่ถูกแบบความนิยมแล้ว จะทำให้ประโยคความครนั้นรงรง ไม่สะ-สวย และบางกรณีไม่ถูกหลักด้วย จริงอยู่ แม้นักศึกษาจะเคยผ่านประสบการณ์เรื่องการเรียง ประโยคแบบนี้มาบ้างแล้วในชั้นต้น ๆ แต่ก็แต่งไปตามจำนวนที่มีเนื้อความ เป็นประโยค เจ สลาย ยติ ตามแบบที่มีอยู่ สำหรับในชั้นนี้ได้เป็นอย่าง นั้น คืออักษรศึกษาจะต้องกำหนดเอาเองว่า ข้อความตอนใดควรปรุงเป็น ประโยค เจ สลาย ยาติ ข้อความตอนใดไม่ต้อง จะกำหนดเอาจากความ ภาษไทยที่มีคำปรึกษาว่า “ถ้า, ถ่าว” แล้วปรุงเป็นประโยค เจ สลาย ยติ ไปทั้งหมดคงจะไม่ได้ เพราะคำว่า “ถ้า” ในภาษาไทยนั้นไม่ตรง กับคำปรึกษาในภาษามครวว่า เจ สลาย หรือ ยติ เมลไป เช่น สำนวนไทยว่า “คำสอนในพระพุทธศาสนาเป็นสิ่งที่มี ประโยชน์มาก ถ้าประพฤติปฏิบัติตาม ย่อมได้รับความเจริญก้าวหน้า โดยส่วนเดียว” ในสำนวนนี้ว่า “ถ้า” ดูจะไม่จำเป็นที่จะต้องแต่ง ตาม แม้จะตัดออกก็ยังได้ใจความเท่าเดิมอยู่ วิธีปรุงประโยค เจ สลาย ยติ มีข้อสังเกตดังนี้ ๑. เจ สลาย ยติ เป็นบิวตบอกรับ คือบอกกำหนดเงื่อนไข ของเนื้อความในประโยค หมายความว่าเนื้อความตอนใดมีเงื่อนไข คล้ายเป็นเหตุเป็นผลกัน เช่นว่าเป็นอย่างนี้จะมีผลอย่างนั้น หรือถ้าอย่างนั้นจะมีอย่างนี้ตามมา เนื้อความตอนนั้นจะต้องปรุงความ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More