คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.๕-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 238
หน้าที่ 238 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.๕-๙ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเข้าใจและเปลี่ยนแปลงการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ เช่น การเปลี่ยนรูปประธานและกิริยาโดยอิงตามมิติของคำต่างๆ นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างที่ช่วยให้เข้าใจการเปลี่ยนประโยคได้ชัดเจน เช่น การแปลความไทยเป็นรูปแบบต่างๆ และทบทวนหลักการที่ต้องจำในการเขียนประโยคเพื่อความถูกต้องในภาษา รูปแบบและวิธีการที่เกี่ยวข้องกับกิริยาที่ใช้ในการสื่อสารต่างๆ ถูกอธิบายไว้อย่างชัดเจน

หัวข้อประเด็น

-การเปลี่ยนรูปประธาน
-กิริยาและการใช้
-ไวยากรณ์ของภาษาไทย
-การเรียนรู้ผ่านตัวอย่าง
-การแปลภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.๕-๙ (๑) ตัวอนกิริยาก็ตตา คือ ผู้ทำกิจนั้น จะต้องกลับเป็นตัวประธานมีรูปเป็นปฐมวิภัตติ (สุเทน เป็น สุโท) (๒) ตัวธรรม (วุตตตกมม) ซึ่งเป็นตัวประธาน จะต้องกลับเป็นตัวอุตตตกมม (ซึ่ง) ประกอบด้วย ทุติวภัตติ (อโทน เป็น โทน) (๓) ตัวกิริยา ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยในกมม. จะต้องประกอบด้วยปัจจัยในกัตตุต ตัวใดตัวหนึ่งใน ๑๐ ตัว แล้วแต่ว่ากิริยานั้นจะอยู่ในหมวดธาตุอะไรกัน (ปจฺเจต เป็น ปจฺติ) (๔) ถ้ากิริยานั้นเป็นกิริยากิตต์ ต ปัจจัย อาจเปลี่ยนเป็นกิริยา-อายยาดในรูปดีตตาลได้ จะขอเพิ่ม อ เข้ามาด้วยก็ได้ไม่ผิดตัวอย่าง ความไทย : พ่อครัวหุงข้าวสุก กัมม : สุเทน โอทโน ปจฺติ ฯ กัตตู : สุโท โอนน ปจฺติ ฯ หลักนี้ถือว่าเป็นแม่บทต้องจำให้ได้นุ่มน่ำ และคงถือว่าเป็นหลักในการเปลี่ยนประโยคม. เป็นกัตตู เลยทีเดียว ดูตัวอย่างอื่นเทียบเคียง ความไทย : เดี๋ยวนี้เอง เราได้ยินเสียงขับอย่างหนึ่งแล้ว กัมม : อิทาเนเว โล คิดสะโก สุจิตฺ ฯ (๑/๑๕) กัตตู : อิทาเนเว โคิดสะทุ อสุโลส ฯ หรือ อิทาเนเวหา เอก คิดสะทุ สตวิ ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More