การแปลศัพท์และการใช้ไวยากรณ์ในภาษาไทย คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 219
หน้าที่ 219 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวกับการแปลศัพท์ในภาษาไทย โดยแสดงตัวอย่างการใช้และการปรับศัพท์ให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ รวมถึงวิธีการเรียงคำที่ถูกต้องเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการแปล เสนอให้รักษาหลักการใช้คำพร้อมทั้งให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้ศัพท์ในบทบาทต่างๆ ในประโยค โดยเน้นให้ความคล้ายคลึงของความหมายยังคงเดิม แม้ว่าจะมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบคำเพื่อให้เหมาะสมมากขึ้น การศึกษาในด้านนี้จะช่วยเพิ่มพูนทักษะในการแปลภาษาไทยอย่างถูกต้องและได้มาตรฐาน.

หัวข้อประเด็น

- การแปลศัพท์
- การใช้ไวยากรณ์
- การปรับคำในประโยค
- ความสำคัญของหลักไวยากรณ์
- การเรียนรู้ภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำศัพท์และความหมาย ๒๐๓ = ตสส ตตุ คณุต ความไทย : ความเป็นไปของท่าน ข้าพเจ้าขอฟัง = ตว ปวดติติโศกามโมมุห ฯ = ตว ปวดตน โศกลาโมมุห ฯ ความไทย : ก็อันบุคคลผู้ได้หลายรูปนี้อยู่ด้วยกัน สมควรแล้ว = เอวรูปึ หี สาหาย ละนุตน เอกโต วิสุต ฯ ๙/๕๖ = เอวรูปึ หี สาหาย ละนุตสส เอกโต วฺสน ฯ ๙ ตุ ค = เอวรูปึ หี สาหาย ละนุตสส เอกโต วสนภาโว ยุตโต ฯ ความไทย : เมื่อไม่ได้ การเทียวไปคนเดียวเท่านั้น ประเสริฐกว่าก็อญชู๋ พี ษาโย ฯ ๙/๕๖ = อาถนุตสส เอกาจริกาฮฺ วา เสโย ฯ ๙/๕๖ = อถนุตสส เอกส ฤณฺ ษ ษ ฯ เสโย ฯ = อถนุตสส เอกส ฤณฺ ษ ษ ฯ เสโย ฯ = อถนุตสส เอกส ฤณฺ ษ ษ ฯ เสโย ฯ ตามตัวอย่างที่แสดงมานี้ จะเห็นได้ว่าแม้จะแปลงศัพท์ไปในรูปต่างๆ แล้ว ความยังคงเดิม แม้จะเปลี่ยดยากไปบ้าง ก็ไม่เสียความอย่างใด เพราะฉะนั้นหากนักศึกษาแปลกศัพท์ให้เป็นประโยค ก็ควรดำเนินตามแบบนี้ แต่ต้องปรับศัพท์ทั้งศัพท์ที่แปลและศัพท์ที่ประกอบ เช่น บทขยาย และบทกรียา ให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และวางไว้ให้ถูกหลักการเรียงด้วย มิใช่แปลเฉพาะศัพท์ที่ต้องการ แต่ศัพท์ประกอบมิได้แปลงให้เข้ารูปเข้าเรื่องด้วย ก็จะแปลเป็นผิดไปเสียตัวอย่าง เช่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More