การเชื่อมโยงและการตั้งสมมติฐานในภาษาไทย คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 337
หน้าที่ 337 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการตั้งสมมติฐานในภาษาไทยและการใช้ประโยคคาถิตเพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างข้อความที่อดีตและปัจจุบัน โดยอธิบายอย่างละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้างของประโยคและวิธีการปรุงภาษา เพื่อสื่อสารความหมายที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพและตรงประเด็น โดยมีตัวอย่างเพื่อการทำความเข้าใจที่ชัดเจนมากขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-การตั้งสมมติฐาน
-การใช้ประโยคคาถิต
-โครงสร้างของประโยค
-แนวความนิยมในภาษาไทย
-การสื่อสารความหมาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทองที่ได้มา ๆ ข้อความนี้เป็นการตั้งสมติฐานว่า ถ้ายืนยันเรียนก็คงสอบได้แล้ว ซึ่งแสดงว่าความจริงไม่ได้ยืนยัน และยังสอบไม่ได้ หรือสมมติเอาว่า ถ้ารู้จักรู้จักใช้ ก็จงเป็นเศรษฐีไปแล้ว แสดงว่าปัจจุบันเขาไม่ได้เป็นเศรษฐีอย่างที่ว่า ในการปรุงประโยคคาถิตนี้ มีแนวความนิยม ดังนี้ ๑. ข้อความนั้นจะต้องเป็นข้อความที่ผ่านมาแล้ว แต่ถูกนำมาเล่าใหม่โดยมีข้อแม้หรือเหมือนมีข้อแม้อยู่ด้วย และจะต้องมีเนื้อความเป็นสองตอน ในแต่ละตอนนั้นเนื้อความจะตรงข้ามกับเรื่องจริงเสมอ และจะต้องมีข้อความที่แสดงว่าผ่านแล้วมาแล้วปรากฏอยู่ในอีกตอนหนึ่งเสมอ ๒. ปรุงประโยคขามคมค์ให้เป็นสองประโยค โดยประโยคที่บอกความที่ผ่านเลยมาแล้ว ให้มีกรียามหมวดกาลัติตูดูตามพาย และมีนิมดบอกปริโภ คือ ยา สล่า หรือ เจ หรือมีนิมดอื่นที่ทำหน้าที่คล้าย นิมดบอกปริคำอยู่ต้นประโยค ซึ่งแล้วแต่เนื้อความ ส่วนอีกประโยคหนึ่งจะมีกรียามหมวดกาลัติติด หมวดวิลัสติ หรือหมวดอื่นใดคุมพากย์ก็แล้วแต่เนื้อความเช่นกัน พึงทำความเข้าใจโดยศึกษาจากตัวอย่าง ดังนี้ - สาย ปุริโส อิตุตรสมโต อภิวาสส น อุทาหก อาจิริโย เอวรูป อุบะ อาหารสติ ฯ (๑/๑๐๒)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More