คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครส ป.ธ.๕-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 280
หน้าที่ 280 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครส ป.ธ.๕-๙ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้อุปมาในประโยค วิย และการจัดเรียงคำในประโยคอุปไมย โดยเน้นถึงวิธีการประยุกต์ใช้กับคำศัพท์ ตัวอย่างให้เข้าใจ เช่น การเรียงคำเมื่อมีหลายคำในประโยค ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญในการแปลเพื่อความถูกต้องและชัดเจนในการสื่อสาร โดยสรุปวิธีการต่าง ๆ เพื่อการศึกษาในวิชานี้ และค้นพบรูปแบบการแปลที่เหมาะสมกับประโยคต่าง ๆ

หัวข้อประเด็น

-การใช้คำอุปมา
-การเรียงลำดับคำ
-ตัวอย่างการใช้งาน
-หลักการแปล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครส ป.ธ.๕-๙ - ประโยคอุปมาอันนิยมประกอบกับ วิย ศัพท์ มากกว่า อุปมา-โชคอีกอื่น - นิยมวางเฉพาะคำที่ไม่เหมือนกับคำที่ ในประโยคอุปไมยไว้เท่านั้น - ถ้าในประโยคอุปมามีเพียงคำศัพท์เดียวคู่กับ วิย นิยมเรียงไว้หน้ากริยาในประโยคอุปไมย ถ้ามีหลายคำทำนิยมเรียงไว้หลังกริยาในประโยคอุปไมย และเรียงไปตามหลักการเรียงปกติ แต่ไม่ต้องใส่ริยาห้ามรับ คงปล่อยไว้ให้ประโยคห้วนเฉยๆ ดูตัวอย่างประกอบ คำศัพท์ : อนุเบนี โสตาปนุนสภากามี่โน อ่านนุทเดโรว วิย สุตดุ ทสุตุ ทสุตุ วจนสวนณฺญ ลฎณฺติ ฯ (มงคล ๑/๙๗) (ประโยคเต็มเป็น สุตดุ ทสุตุ สุตดุ วจนสวนณฺญ ลฺมาโน อนุทเดโรว วิย) : โอกาสเสวาติ อาวาย พิริวา จนฤสุริยา วิย เอโกภูสา กิริตวาตยตุโก ฯ (มงคล ๑/๘) (ประโยคเต็มเป็น เอโกภูสา กรณุตา จนฤสุริยา วิย) หลายคำทั่วหน้า : ยาว หี อิมา จตุโลสา ปริสา ม อิมาย ปฏิปฏิปุซาย ปุเชสสตี โตว ม สานน นามชฺเฌน ปุณฺญฉนฺโท วิย วิจริตสุตฺ ฯ (มงคล ๑/๗๗)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More