คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 114
หน้าที่ 114 / 374

สรุปเนื้อหา

หนังสือคู่มือนี้นำเสนอวิธีการแปลภาษาไทยเป็นนคร โดยมีตัวอย่างการใช้ศัพท์และการตั้งคำถาม รวมถึงกลยุทธ์ในการสอบถามบุคคลและสิ่งของในสถานการณ์ต่างๆ เนื้อหาจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจแนวทางการใช้คำในรูปแบบที่ถูกต้องและตรงตามความนิยมในภาษาไทย โดยใช้ตัวอย่างบทสนทนาที่เป็นประโยชน์ พร้อมคำอธิบายเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการเข้าใจการสื่อสารในทั้งสองภาษาในบริบทที่ถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษา
-ศัพท์ในภาษาไทย
-การตั้งคำถาม
-การใช้คำในสถานการณ์
-บทสนทนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔-๙ : ปุตฺติมาย ทีลาย กงฺคลํ นาม นิคโม ตสลาปรน หามสาลา......(มงคล ภาค ๑) (๔) ศัพท์ที่ท่านใช้ในปรากฏทั้งหลาย แม้จะผิดความนิยมและผิด หลักที่ศึกษามา ก็อย่าถือว่าของท่านผิด เพราะในกรณีเกิดหลัง แต่ไม่ควรใช้ตามแบบท่าน ควรใช้ถูกความนิยมดีกว่า เช่น : ยสส เอตต ธนา อติดิยา ปริสุสสว ๆ (๓/๒๗๙) (๔) ในประโยคคำถาม ผู้ถามถามถึงสิ่งหรือบุคคลที่มองไม่เห็น กัน หรือมองเห็นแต่ไม่แน่ใจหรือด้วยความเข้าใจผิด มีความนิยม ดังนี้ ก. ถ้ามุ่งถามถึงบุคคล อย่างที่ในภาษาไทยทักษะในที่มีต่างว่า "ใคร" นั้นและ อย่างนี้ให้ใช้รหัสศัพท์เป็น ปุ. คือ โก อย่างเดียว แม้ผู้ถูกถามจะเป็นลิงก็อย่างไรเดียวกันคำถามจะเป็นสิ่งก็อย่างนี้ตาม เช่น ตอนพระนางมุทธิมาเคาะประตูเรียกพระเวสันดรกลางดึก พระเวสันดร : โก เอโล (ใครน่ะ) พระนางมุทธิ : อห มุทธิ (หมอบฉันเอง มุทธิ) ข. ถ้ามุ่งถามถึงสิ่งของวัตถุ อย่างนี้ให้ใช้ นบ. คือ ก็ อย่างเดียว แม้สิ่งถูกถามถึงนั้น จะเป็นศัพท์หลังอีกตาม เช่น ถาม : ก็ ปน อิสัมซี คผล โหว่ ๆ ตอบ : มณฺฎา ภนฺฏิ, เอตฺถา สมเรนธี หิยโย สิติปิฎ, ๆ ถาม : ปรุฏฺถิมาย ทิลาย ก็ นิมิตฺต ๆ ตอบ : ปาสาณา ภนฺฏิ ๆ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More