ไวยากรณ์และสัมพันธ ๒๒๓ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 139
หน้าที่ 139 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของการใช้เวลาในภาษาไทยที่ถูกต้อง การเดินทางจะต้องมีการถามและให้ความสำคัญกับรายละเอียดในการใช้ประโยคและวาจา เมื่อการใช้ผิดพลาดเกิดขึ้น อาจทำให้ความหมายผิดวัตถุประสงค์และเสียน้ำหนักทางภาษา ทำให้การสื่อสารไม่ชัดเจนหนัง ไม่เพียงแค่ทำให้การสื่อสารล้มเหลว แต่ยังมีผลต่อคะแนนในด้านการเรียนรู้ด้วย ดังนั้น การเข้าใจโครงสร้างภาษาและกาลจึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและเข้าใจง่าย

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของไวยากรณ์
-การใช้เวลาในภาษาไทย
-การเดินทางและการสื่อสาร
-ผลกระทบของการใช้คำผิด
-การประกอบคำและประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ ๒๒๓ (แสดงว่า ทางโกลนั้นผู้เดินทางจะต้องถาม ถ้าไม่ถามจะทำให้หลง และทำให้เกิดความเสียหายได้) : ตเทว ตโยนมคุ่ คนดูมาสุส ปูริสสสุ อนตร-มคเค รุกขบพทุต ฯกากที่สุ วิลุมพามสุ สุกโค ปริกขยะ น คจติ ทิวีติเทหน ปริโยสเพตโพโหนิติ ๆ (แสดงว่า จะเดินทางในวันเดียว ๓ โยชน ถ้ามีโออี อยู่ จะต้องใช้เวลาถึง ๒ - ๓ วัน กว่าจะสิ้นสุดการเดินทาง ทำให้เสียเวลา) เรื่องกาลเป็นเรื่องละเอียดอ่อนและเป็นเรื่องซับซ้อน ดังแสดงมา นี้ จึงสมควรที่จะได้ทำความเข้าใจให้ลึกซึ้ง และเข้าให้ถึงอรรถรสรจริงๆ จึงสามารถใช้กาลได้ถูกต้อง เมื่อตแต่มาแล้วอาจได้ใจความถูกต้องชัดเจน หากใช้ผิดกาลเสียตอนใดตอนหนึ่ง นอกจากจะทำให้เสียรสภาษาแล้ว ยงอาจผิดที่ประสงค์ เป็นเหตุให้เสียคะแนได้เหมือนกัน เรื่องจาก ข้อความหรือคำพูดต่างๆ จะรู้ได้ชัดเจนว่าหมายความว่าอย่างไรต้องอาศัย “วาจา” เป็นหลักใหญ่ การประกอบคำขึ้นเป็นวาจาหรือเป็นประโยคจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก หากประกอบคำผิดจากหรือใช้วาจผิดแล้ว จะทำให้ไม่รู้ความหมายของข้อความหรือคำพูดนั้นๆ หรือทำให้ความหมายผิดวัตถุประสงค์ไปเลย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More