ข้อความต้นฉบับในหน้า
คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ปธ.4-9
นั่นเป็นวิสสนะ ส่วนศัพท์วิสสนะ สัพพนาม และศัพท์หลังคุณ ไม่นิยมแปล เพราะบ่งชัดว่าเป็นวิสสนะอยู่แล้ว บทวิสสนะนี้มีวิธีการเรียงไม่ยุ่งยากนัก ดังนี้
๑. ทำหน้าที่ขยายบทใด ต้องปรุงศัพท์วิสสนะให้มีลิงค์ วนจะวิภัตติ เหมือนกับบทนั้นเสมอไป
๒. สามัญวิสสนะ คือ วิสสนะแทว ๆ ไป ซึ่งเป็นคุณนามบ้าง วิสสนัสพบางบ้าง เป็นศัพท์ที่ปรุงมาจาก ๓ อนุต มาน ปัจจัยบ้าง
ให้เรียงไว้นำบทที่ตนขยาย เช่น
: กมลสรภุกโ ภารโก อากาโร อุปปชิชิ ๆ (๑๑๘)
: อยุ ธมฺเทสนา กตุก ภาสิตติ ๆ (๑๓)
คาจานนท ตี ยกุนี ปโกสาติ ๆ (๑๕)
๓. วิสสนิวิสสนะ คือ วิสสนะที่ไม่ทั่วไป เป็นวิสสนะแสดงยศ ตำแหน่ง ตระกูล หรือความผิดอื่นใดที่ไม่ทั่วไปแก่ผู้อื่น ให้เรียงไว้อยู่หลังบทที่ตนขยาย เช่น
: สมโณ โคโท ม สกลายปฺฏโต สกลกุล ปพฺพิโต......
: วิสาขี มหาอุปสิกา นิพิธฺทิ วิสสสส เทวา... (๑/๑๕)
: ทิฏฐิโ โช เม มาหาล สกโก เทววณินฺโทติ ๆ (๒/๒๕)
๔. ถ้านามที่ตนจะขยายความมีหลายศัพท์ ให้ประกอบวิสสนะให้มีลิงค์ วนจะวิภัตติ เหมือนกับนามตัวที่อยู่ใกล้ที่สุด เช่น
: สีลลติ อิตติ วา ปุริโส วา......ฯ