ข้อความต้นฉบับในหน้า
๒๐๔ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นนคร ป.ธ.๔
ประโยคเดิม : เอวรูป สี สายกิณ ลูนเทน เอกโต วสิฏู ยุตต์ ๆ
แปลว่า : เอวรูป สี สายกิณ ลูนเทน เอกโต สนิทาไว ยุตต์ ๆ
อย่างนี้ถือว่าแปลแล้วผิด คือผิดทั้ง ลูนเทน และ ยุตต์
เพราะผิดสัมพันธ์ทั้งคู่ จึงต้องใช้ความชำนาญ และความรู้เป็นพิเศษ
จึงจะทำเรื่องนี้ได้ดี
ความหมายของสัทธ์
ดังกล่าวมาบ้างแล้วว่า สัทธ์แต่ละสัทธ์นั้นมีความหมายในตัว
ซึ่งไม่เหมือนกัน และวิธีใช้ก็แตกต่างกัน ดังนั้น จึงควรจะได้ศึกษา
ความหมายของสัทธ์ไว้บ้าง เพื่อจะได้นำสัทธ์ไปใช้ได้ถูกเรื่อง ถูกความ
ที่ประสงค์ ในตอนสุดท้ายของบทนี้ จึงจำแสดงสัทธ์ต่างๆ พร้อมทั้ง
ความหมายให้ดูเป็นอุทาหรณ์ ซึ่งจะได้แสดงให้เห็นว่าใช้งิในกรณีไหน
ด้วย ดังนี้
๑. เฉโก ฉลาดในการทำความผิด ทำซ้ำ การหากิน
ตามปกิรธรรมโลก
กุสโล ฉลาดในการตัดความชั่ว
โกวิโต้ ฉลาดในการประพฤติธรรม ในการทำความดี
ปณฺทิโต ฉลาดในการทำด้วยปัญญา
๒. วินา เว้นอย่างสูง เว้นพลัดพราก คือ ขาดเสียมิได้
เช่น ผิวเนื้อเมีย เว้นพระพุทธเจ้า เป็นต้น
รปฺปตวา เว้นไว้ส่วนหนึ่งจากหลายๆ ส่วน โดยเอาไว้