ไวยากรณ์และสัมพันธ ๑๐๓ เรื่องวิภัตติ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 119
หน้าที่ 119 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เจาะลึกการใช้วิภัตติในภาษาไทย โดยเน้นถึงความสำคัญของการประกอบคำพูดให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ เพื่อป้องกันการเสียความหมาย และรักษาอรรถรสของภาษา พร้อมตัวอย่างการใช้วิภัตติในประโยคต่างๆ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายขึ้น ดำเนินการศึกษาหลักเกณฑ์การใช้วิภัตติทั้งเนามและอายขาด ซึ่งช่วยเสริมสร้างทักษะในการใช้ภาษาให้ดียิ่งขึ้น สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-หลักการใช้วิภัตติ
-การประกอบคำพูด
-ตัวอย่างการใช้วิภัตติ
-ความสำคัญของไวยากรณ์
-การสังเกตวิภัตติในภาษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไวยากรณ์และสัมพันธ ๑๐๓ เรื่องวิภัตติ การประกอบคำพูดด้วยวิภัตติต้องให้ถูกตามหลักไวยากรณ์ และใช่ถูกสำเนานุกรม หากประกอบผิดจะทำให้เสียความหมาย และหากใช้ผิดสำเนานุกรม ก็จะทำให้เสียอรรถรสของภาษาไป เช่น : ก็ฤษฏถวายบาตรของตัวแล้วเสร็จ : ก็ญู อุตตโน ปฏติ สามเสนฺ อทาสิ ฯ (ปฏติ สามเสนฺส อทาสิ) : ที่นั่น พระเกษรห้ามเธอว่า เธออย่าทำอย่างนี้ : อด น์ เธร “มา เถรูป กโลสีติ” นิวาเรสี ฯ (มา เถรูป กโลหิโติ..) : การสังสมบุญนำสุขมาให้ : บุญ๚ อุตฺตโม สุขํ ฯ (สุขํ โปฺญฺสสุ อุตฺตโย) ดังนั้น พึงสังเกตหลักเกณฑ์ที่ท่านใช้ในที่ต่างๆ ว่าท่านใช้วิภัตติอะไรในที่เช่นไร ทั้งวิภัตติเนาม ทั้งวิภัตติอายขาด ในที่นี้จึงให้ข้อสังเกตเรื่องวิภัตติพอเป็นตัวอย่าง ดังนี้ วิภัตติมคม (๑) ในส่วนข้อสอบแปลไทยเป็นนคร มักจะไม่มีคำแปลออกสำเนียงอายบาต ทำให้นักศึกษาตัดสินใจไม่ได้ว่าเป็นวิภัตติอะไรแน่ เช่น สำนวนว่า เขาทำงาน เขากินข้าว สามีให้เครื่องประดับภริยา สามเสนังเตียงอยู่ เป็นต้น จึงต้องประกอบคำศัพท์ด้วยวิภัตติเออง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More