การแปลประโยคและการลับประโยค ๒ ๖ ๑ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 257
หน้าที่ 257 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการแปลและการลับประโยคในภาษาไทย โดยเน้นวิธีการขยายประโยคและการตีความ ให้เข้าใจถึงความหมายต้นฉบับที่ถูกต้องจากมคธ โดยได้ยกตัวอย่างเพื่อให้เห็นถึงความซับซ้อนและความลึกซึ้งที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการเรียนรู้ในเรื่องนี้จะทำให้ผู้อ่านมีความสามารถในการตีความภาษาไทยและภาษาอื่นๆ ได้ดียิ่งขึ้น เช่นในบทความที่กล่าวถึงการทำบุญเพื่อชีวิตที่ดี เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อนำเสนอวีธีการสังเกตและการปรับใช้ภาษาต่างๆ เพื่อเข้าใจความหมายนั้นๆ ได้อย่างถูกต้องเมื่อกลับมาแปลเป็นภาษาไทยอีกครั้ง

หัวข้อประเด็น

-การแปลประโยค
-ลับประโยค
-ภาษามคธ
-ความหมายในภาษาต่างๆ
-หลักการตีความ
-การทำบุญ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การแปลประโยคและการลับประโยค ๒ ๖ ๑ เป็น เยน เป็นต้น ส่วนวงจนะ หรือลิงให้ยืนงไปตามเนื้อความ(๒) ในประโยค ๓ ต ศัพท์ จะประกอบเป็นวิภัตตอะไรต่อแล้ว แต่ความตอนนั้นว่าทำหน้าที่ขยายอะไร ไม่กำหนดตามย ขอให้ดูตัวอย่างประกอบ : แม็กญูล่านั้น ฯลฯ ในวันรุ่งขึ้นเข้าไปบำบัด ณ ถนนซึ่งเป็นที่อยู่ของน้องชายพระเถร : เตบ ๆ เปะ ปูนทิวาส ยุตฺถเณสด กนฺฏฺฐโล วตติ ต วิถี ปิยทาย ปริสีส ฯ(๑/๑๓) : ท่านทั้งหลาย จงทำบุญอันเป็นเครื่องให้สัตว์ทั้งหลายไปสู่สุดกนิพฺพนิรติ : เยน ปุณฺเปน สุตตา สุขติ ยนฺติ ต กโร ฯ แสดงการลับประโยคโดยวิธีอธิษฐานและขยายประโยค มาเป็นตัวอย่างดังนี้ เป็นการแสดงในส่วนที่เห็นว่าเป็นแบบทั่วไป แต่ความจริงแล้วเรื่องนี้เป็นเรื่องละเอียด และลุ่มลึกซับซ้อนมากมีกฎระเบียบบังคับให้กำหนดตายตัวได้ง่าย แต่จังเป็นลิลาและรสของภาษาที่ลิกชิ้งสูงสุดได้ ผู้จะเชี่ยวชาญเรื่องนี้ได้ต้องเป็นนักสังเกตแบบที่ท่านใช้ อยู่ในปกรณ์ต่าง ๆ สังเกตทั้งความมคธ และความที่ยิยมเปลี่ยนกัน และต้องเป็นผู้ดูแลในภาษาไทยด้วย คือ ต้องสามารถตีความภาษาไทยตอนนั้น ๆ ให้ได้ว่าท่านหมายความว่าอย่างไร และประโยคเนื้อความสิ้นสุดลงตรงไหน และเมื่กลับเป็นภาษามคร แล้วแปลกลับมาสู่ภาษาไทยอีกครั้งหนึ่ง จะได้ความเท่าเดิมหรือไม่ เป็นนั่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More