คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.๔-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 104
หน้าที่ 104 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้เสนอแนวทางการแปลภาษาไทยเป็นภาษาที่ใช้ในการศึกษา โดยมีการอธิบายการใช้กริยาและวิธีการจัดเรียงข้อมูลในประโยค เพื่อความเข้าใจที่ง่ายขึ้น ผู้เรียนต้องสังเกตถึงวิธีการใส่กริยาหรือคำที่จำเป็นในประโยค การแปลที่ถูกต้องจำเป็นต้องนำเสนอกริยาควบคุมเพื่อให้กระบวนการแปลมีความหมายที่ถูกต้องแม่นยำ โดยไม่มีการระบุเว็บลิงก์อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องนอกจาก dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทย
-การใช้กริยาในการแปล
-หลักการจัดเรียงประโยค
-ความสำคัญของการควบคุมคำในประโยค
-กระบวนการสอนภาษาศาสตร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.ธ.๔-๙ ไปตามลำดับเหมือนความไทยไม่ได้ แม้เข้าสีกริยาอนุ มาน ปัจจับ ก็พึงเทียบเคียงนั่น ๓.๔ ถยายกริยาอนุทวิว่า จะเรียกเรียนกริยานั้นไว้หน้าหรือหลัง อิติ ก็ได้ แต่มีข้อสังเกตอยู่ว่า ในประโยคที่มีข้อความเลขในสั้นๆ นิยมเรียกกริยาไว้หลัง ในประโยคที่มีข้อความเลขในยาว นิยมเรียกกริยาไว้ข้างหน้า อิติ เพื่อให้สังเกตกริยาได้ง่าย เช่น : ต สุดา มหาปโล กุมภูโก จินตลี “ปรโลก” คจฉนต์ุปุตติโร วา โศกา วา นานุคจฉนต์ฺ ฯ (๑/๖) : อถ น สุดา “นุตติ เ ต โกจิ อุปจิตพยุตโก ฯ” (๑/๖) อึ้ง ขอให้สังเกตว่าคำที่นาม หรือคำกริยา ที่ทำหน้าที่คุม อิติ นี้แม้จะมีคำแปลในภาษาไทย บางครั้งไม่จำเป็นต้องใส่มาในเวลาแต่งเป็นคํา แต่เวลาแปลจะต้องใส่เข้ามาเอง เรื่องนี้ผู้ศึกษา ต้องสังเกตให้ดี เพราะฉะนั้นเวลาเรียนขอให้ดูความในประโยค หากไม่ใส่สนาหรือกริยาเข้ามาคุม ผู้แปลก็พอของออกว่าต้องใส่คำนี้เข้ามา เช่น ใส่จินตนเน วจเนป ปจฉิ อาท เป็นต้น เช่นนี้จะไม่ใส่ก็ไม่ผิด แม้ในแบบจะมีใส่ไว้ตาม หรือในแบบเขาไม่มี เราไปเพิ่มเข้ามา ก็ไม่อาจว่าผิด แต่บางกรณีใส่ไปก็ทำให้ประโยคครุ้งครึ้ง เช่นในประโยคโต้ตอบสนทนากัน เป็นต้น ซึ่งไม่เนียมใส่กริยาคุม อิติ ที่นำใส่ไว้อย่างเป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More