คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครร ป.ร.9 คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 348
หน้าที่ 348 / 374

สรุปเนื้อหา

คู่มือนี้เน้นการแปลประโยคจากภาษาไทยเป็นมคธ โดยมีข้อสังเกตเกี่ยวกับการใช้ประโยคที่สมบูรณ์ และการวิเคราะห์แบบประโยคที่นิยมในภาษา สอนให้นักเรียนสังเกตและเปรียบเทียบประโยคในบริบทต่างๆ เพื่อเพิ่มความรู้และความมั่นใจในทักษะการใช้ภาษา.

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาไทย
-การใช้ประโยค
-การศึกษาเมตริก
-การวิเคราะห์ประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครร ป.ร.9 ข้อสังเกต ประโยคนี้ก็เหมือนกับประโยคต้น คือ ประโยค ลงจะอยู่ประโยคเดียว ไม่มีความอื่นเข้ามารับ ประโยค ย ต นั้น ความก็ แยกอธิบายไปต่างหาก ถือว่าประโยคไม่สมบูรณ์ ไทย : ถ้าสร้างเมืองหลวงของประเทศไว้ที่ฝั่งน้ำด้านตะวันออก จะได้ลำแม่น้ำลิก เป็นคู่อรพระนาคามด้าน ฯ มคธ : สง ผุ ปูรมิสาภาด ณ์ที่ปาเร รัฐสุขส ราชานี กเรยุ้ย, ลา ปนสาว ราชาธิ ดีที ปุสเสติ คุติรามหานที-ปริมาณดา โหติ ฯ ข้อสังเกต ประโยคนี้จะแสดงลักษณะประโยค ลง แต่ในประโยค หลังที่เป็นประโยคบรรร or ประโยคผล มีนบด้นข้อความ คือ ปน อยู่ด้วย ซึ่งเห็นว่าไม่เป็นที่นิยมเพราะประโยคอย่างนี้เป็นสังกรประโยค มินาบด คือ สง เชื่อมความอยู่แล้ว ไม่จำเป็นต้องใส่นบดเชื่อม ข้อความอื่นเข้ามาอีก กล่าวโดยสรุปก็คือ ขอนักศึกษาพิจารณาดูความนิยมตามที่กล่าวมาแล้วไปสังเกตดูประโยคแบบนี้ที่ท่านใช้ในปกรณ์ต่างๆ เทียบเคียงก็จะได้เพิ่มความรู้และความมั่นใจในการรพูประโยคเช่นนี้มากยิ่งขึ้น ประโค ย ต ความจริงประโยค ย ต หรือที่ภาษาไวมายก์เรียกว่า สังกรประโยคนี้ นักศึกษามได้ศึกษากันมาและมีความเข้าใจกันพอสมควรแล้ว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More