คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.อ.๕-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 300
หน้าที่ 300 / 374

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้นำเสนอความหมายและลักษณะของประโยคในภาษาไทยและภาษามครี โดยแบ่งประเภทของประโยคในภาษาไทยออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่ เอกรรถประโยค, อนรรถประโยค และ สังกรประโยค พร้อมตัวอย่างการใช้งานเพื่อความเข้าใจที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความแตกต่างระหว่างประโยคไทยกับประโยคมครีที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เนื้อหาเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาและเข้าใจการแปลประโยคในภาษาไทยได้ดีขึ้นและใช้ในการสอนภาษาเหนืออื่นที่คล้ายกัน

หัวข้อประเด็น

-ลักษณะประโยคไทย
-การแบ่งประเภทประโยค
-การเปรียบเทียบประโยคไทยและมครี
-การศึกษาเกี่ยวกับประโยค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๒๒๐๕ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นครู ป.อ.๕-๙ ประโยค ประโยค คือ กลุ่มคำที่มีเนื้อความเกี่ยวเนื่องกันเป็นระเบียบและมีความสมบูรณ์ในตัว ประโยคในภาษาไทยกับประโยคในภาษามครีมีหลายลักษณะและหลายชนิดเช่นเดียวกัน เพื่อความแตกต่างและเพื่อเปรียบเทียบกัน จักแสดงลักษณะประโยคในภาษาไทยไว้พอสังเขป และจะแยกตัวอย่างประโยคภาษาไทยคู่กันไปกับประโยคภาษามครี ชนิดของประโยค ประโยคในภาษาไทยแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ชนิด เช่นเดียวกันกับประโยคในภาษามครี คือ ๑. เอกรรถประโยค ๒. อนรรถประโยค ๓. สังกรประโยค ๑. เอกรรถประโยค เอกรรถประโยค คือประโยคสามัญทั่วไป ซึ่งมีเนื้อความสมบูรณ์ในตอนเดียว ประโยคอาจสั้นหรือยาวก็ได้แล้วแต่เนื้อความ แต่ในประโยคนี้จะต้องมีบทประธานและบทกริยาอยู่ด้วย ในกรณีที่กริยาเป็นสกรรมกริยาต้องมีบทกรรมเพิ่มเข้ามาอีกส่วนหนึ่ง ประโยคจะสมบูรณ์ เช่น ไทย : พระเคราะห์เข้าไปบิณฑบาตในหมู่บ้าน มครี : พระเคราะห์เข้าไปบิณฑบาตในหมู่บ้าน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More