หลักการแต่งไทยเป็นคณะ ป.ธ. ๙๗ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 343
หน้าที่ 343 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอหลักการและแนวทางในการแต่งภาษาไทยโดยอิงตามความนิยมและหลักภาษามคธ โดยเฉพาะการใช้ประโยคหิ นาม ซึ่งถือเป็นการแสดงถึงภูมิปัญญาของผู้แต่งและความเข้าใจในหลักภาษาที่ถูกต้องและมีเสน่ห์ ควรให้ความสำคัญกับการปรุงประโยคเพื่อให้เกิดความชัดเจนและสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณค่าทางภาษา

หัวข้อประเด็น

-หลักการแต่งเพลงไทย
-การใช้ประโยคในภาษามคธ
-ความนิยมในภาษามคธ
-การศึกษาภาษาไทย
-การสร้างสรรค์ผลงานภาษาไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักการแต่งไทยเป็นคณะ ป.ธ. ๙๗ : ปณทิตโต ภิกขเวอนนฺโท มหาปูโณ ภิกขเวอนนฺโท เยตฺรทิ นาม มยา สงฺขิตเตน ภาสิสตฺถี วิจูลาเรน อตฺติ อาชานิสสตี ฯ (มงคล ๑/๑๓๐/๑๕๐) : เตสฺหิ นาม ภิกขเว ราช Sun อาทินุนทกฺขาต น อาทินุนสฺตาน เอวรูป ขนติไสรง จ วิจูลา ฯ ..... (๑/๕๕) ประโยค หิ นาม ที่ไม่เป็นไปตามความนิยมนี้ คือมีภรียาเป็นอัชชัตน์วิวัติตตามปกติ เท่าที่นี้มีเพียง ๒ ที่เท่านั้น และเป็นข้อความเดียวกัน คือ : สตฺถาบิ เอวํ อติติ อาหาริตตา ภิกฺขุ โอวฑฺฒ นาม ภิกฺขเว ติรฉนาคตา อนุมฺนบญฺ สคารา สปฺปลิสสา วิธริส ฯ (อรรถกถาชาดก เอกินฺบาต ฯ มงคล ๒/๒๕๔/๒๕) เพราะฉะนั้น ขอให้นักศึกษาผู้แต่งไทยเป็นภาษามคธ โดยใช้ประโยค หิ นาม พึงสอาถความนิยมที่เป็นไปโดยมากเป็นดีที่สุด ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นภูมิปัญญาของผู้แต่ง ว่าเข้าถึงหลักภาษามคธอย่างไร้แค่ไหน ประโยค เจ สงฺ ยติ ประโยค เจ สงฺ ยติ ในภาษามคธ มีใช้อยู่ในปกรณ์หลายและมีวิธีการปรุงประโยคเฉพาะตัวแบบหนึ่ง เพราะฉะนั้นนักศึกษาพึง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More