คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคร ป.๔-๙ คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.4-9 หน้า 350
หน้าที่ 350 / 374

สรุปเนื้อหา

ในคู่มือนี้มีการอธิบายเกี่ยวกับการใช้ประโยคยซ้อนกันและการจัดวางคำให้ถูกต้อง การใช้ประโยคย ๓ เพื่อบ่งบอกกาลและขยายความเป็นปัจจุบัน แม้จะมีเนื้อความที่เป็นอดีตหรืออนาคต และการปรุงประโยคย ๓ เพื่อให้เนื้อความชัดเจนและกระชับยิ่งขึ้น สามารถใช้เทคนิคต่างๆในการแปลและตีความหมายเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น โดยไม่มีการอ้างอิงเว็บอื่นนอกจาก dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การใช้ประโยคซ้อน
-การใช้คำยในประโยค
-ความสำคัญของคำในประโยค
-การแบ่งประเภทของเวลาในประโยค
-เทคนิคการแปลและการปรับให้กระชับ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คร ๙๖ คู่มือวิชาแปลไทยเป็นมคร ป.๔-๙ ๓. กรณีที่แต่งประโยค ย ซ้อนกันในประโยคเดียว คือ มี ย สองตัว ในประโยค ๓ ก็จะต้องมี ๓ ซ้อนกันสองตัว เพื่อให้รับกับ ย และต้องวางศัพท์ให้ถูกตำแหน่ง กล่าวคือ ย ตัวแรกกับ ย ตัวหลังหมายถึงอะไร และวางอยู่ในตำแหน่งใด ตัวแรกก็ต้องวางไว้ในตำแหน่ง ย ตัวหลังเพื่อให้รับกันโดยไม่สับสน หาวางสลับที่กัน อาจทำให้สับสน ไม่สามารถรู้ได้ว่า ย ตัวไหนจับคู่กัน ในกรณีนี้มีตัวอย่างเช่น : อนุปานเทสเชซ โย ย อิฉจติ ตสล ต ย อิฉจิตเมว สมูชชาติ ๆ ๔. ในกรณีที่ใช้ประโยค ย ๓ บ่งถึงกาล คือ ยท ตท กริยาคม พากย์ในประโยค ยท นิยมประกอบเป็นวิภัตติหมวดตมานา แสดงความเป็นปัจจุบัน แม้เนื้อความตอนนั้นจะดูว่าเป็นอดีตหรืออนาคตก็ตาม เพราะเนื้อความในประโยค ยท นั้นเกิดขึ้นหรือเป็นไปพร้อมกับเนื้อความในประโยค ตท ที่นขยาย แต่ในประโยค ตท กริยาจะเป็นกาลอะไร ยอมแล้วแต่เนื้อความเป็นสำคัญ เช่น : ยท หิ ควา มหาปรินิพพานมนุเจ นิพชนิติ ตท ทสสสุขุภาวเทวตา อิมสุมิ จุกกวา เฟ สนิปิตุตว ทิพพมาตาติ ภควัต ปุเชสี ๆ (มคคล. ๑/๘๘๐) ๕. เนื่องจากประโยค ย ๓ มีประโยชน์สำหรับขยายเนื้อความให้มากขึ้นก็ได้ ย่อเนื้อความให้สั้นกระชับลงก็ได้และทำเนื้อความที่สัมสนให้ชัดเจนก็ได้ เพราะฉะนั้นจึงสามารถปรุงประโยค ย ๓ ได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More